Page 213 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 213

696 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




           นิยมน�ามาใช้ในการสกัดสารจากสมุนไพร ดังนี้   สารเป้าหมายที่ต้องการและสารอื่น ๆ ออกมาได้เช่น
                    (1)  การสกัดด้วยคลื่นไมโครเวฟ (mi-  กัน ตัวท�าละลายที่มีขั้วจะมีความสามารถในการดูด

           crowave-assisted extraction; MAE) ไมโครเวฟ  ซับพลังงานไมโครเวฟได้ดีจะท�าให้สกัดได้เร็วกว่าตัว
           เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่สูง โดยมีความถี่ใน  ท�าละลายไม่มีขั้ว นอกจากนี้ตัวท�าละลายที่ใช้สกัดจะ
           ช่วง 300 MHz ถึง 300 GHz คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดัง  ถูกดูดซึมเข้าสู่เซลล์สมุนไพรโดยการแพร่ผ่าน (dif-

           กล่าวส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของเซลล์  fusion) สารจากสมุนไพรจะละลายในตัวท�าละลายจน
           สมุนไพร ความร้อนที่เกิดจากไมโครเวฟจะถ่ายทอดสู่  กระทั่งสารละลายอิ่มตัวและแพร่ออกมาอยู่บริเวณผิว
                                                                [10]
           สมุนไพรผ่านตัวท�าละลายที่ใช้สกัด ความร้อนที่สะสม  ของสมุนไพร  พื้นที่ผิวของสมุนไพรที่สัมผัสกับตัวท�า
           มากขึ้นจะแผ่เข้าสู่เซลล์ท�าให้น�้าหรือของเหลวในเซลล์  ละลาย และปริมาณน�้าในสมุนไพรจึงมีผลต่อการสกัด
           สมุนไพรระเหยและเกิดความดันไอสูงขึ้นจนท�าให้ผนัง  ด้วยวิธี MAE เครื่องสกัดสารด้วยวิธีนี้ (Figure 6)
           เซลล์แตก สารจะถูกปล่อยออกจากเซลล์ ซึ่งจะมีทั้ง
























                                     Figure 6  Microwave-assisted extraction [8]



                    (2)  การสกัดด้วยคลื่นอัลตราซาวด์ (ul-  ในทิศทางเดียวกับการเคลื่อนที่ของพลังงานท�าให้เกิด

           trasound-assisted extraction; UAE) เป็นการสั่น  การสั่นสะเทือน เกิดส่วนอัด (compression) และส่วน
           ด้วยคลื่นอัลตราซาวด์หรือคลื่นเหนือเสียงท�าให้สาร  ขยาย (expansion) สลับไปมาในตัวกลาง โมเลกุลของ
           ถูกปล่อยออกมาจากสมุนไพร คลื่นอัลตราซาวด์ที่ใช้  ตัวกลางจะถูกอัดเข้าหากันสลับกับการแยกตัวจากกัน

           ในการสกัดเป็นคลื่นอัลตราซาวด์ช่วงความถี่ต�่า (20-  เกิดฟองอากาศในตัวกลางของเหลว เกิดปรากฏการณ์
           100 kHz) ในขณะที่การตรวจวินิจฉัยทางการแพทย์  “คาวิเทชัน’’ (cavitation) โดยเมื่อฟองอากาศขนาด

           จะใช้ช่วงความถี่สูง (1-10 MHz) คลื่นอัลตราซาวด์  เล็กจ�านวนมาก เกิดการหดและขยายตัวบริเวณผิว
           จะเคลื่อนที่โดยอาศัยตัวกลางในการถ่ายเทพลังงาน   ผนังเซลล์ของสมุนไพร ท�าให้ฟองอากาศมีขนาดใหญ่
           อนุภาคตัวกลางจะเกิดการสั่นหรือย้ายต�าแหน่งไปมา  ขึ้นและหดตัวเล็กลงสลับกัน เกิดลักษณะคล้ายการ
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218