Page 210 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 210
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 3 Sep-Dec 2023 693
ท�าในอัตราเร็วเช่นเดียวกับการเติมตัวท�าละลายลง อย่างต่อเนื่องจนสมบูรณ์ (Figure 2) โดยทั่วไป หาก
ไปในตัวอย่างสมุนไพร สกัดจนกว่าสมุนไพรจะถูก ตัวท�าละลายเป็นส่วนผสมของแอลกอฮอล์-น�้า จะ
สกัดอย่างสมบูรณ์ หรือจนได้ปริมาตรหรือสัดส่วน ใช้อุณหภูมิประมาณ 60-80˚ซ และระยะเวลาสกัด
[5]
ของสารสกัดที่ต้องการ สารสกัดของเหลวที่สกัดออก 80-120 นาที เป็นวิธีที่นิยมใช้ในการสกัดสมุนไพร
มา เรียกว่า เปอร์โคเลต (percolate) (Figure 1) วิธี จุดเดือดของตัวท�าละลายและระยะเวลาสกัดเป็น
นี้เป็นการสกัดแบบต่อเนื่อง ประสิทธิภาพดีกว่าการแช่ สองปัจจัยที่ส�าคัญที่สุดต่อประสิทธิภาพการสกัด ข้อ
สกัดเนื่องจากอัตราการแพร่กระจายภายใน (internal จ�ากัดของวิธีคือไม่เหมาะส�าหรับสกัดสารที่ไม่ทนต่อ
[4]
diffusion rate) จะสูงอยู่ตลอดเวลา อัตราการสกัด อุณหภูมิสูง
ขึ้นกับอัตราเร็วในการไขออกหรืออัตราการไหลของ
ตัวท�าละลาย (drip rate หรือ solvent flow rate)
นอกจากนี้ยังมีเทคนิครีเปอร์โคเลชัน (repercolation)
ซึ่งเป็นการน�าเปอร์โคเลเตอร์หลายอันซึ่งมีรูปร่างและ
ขนาดเหมือนกันมาเรียงต่อกัน เรียกว่า เปอร์โคเลเตอร์
แบตเทอรี (battery of percolator)
Figure 2 Reflux extraction
(6) การสกัดด้วยซอกห์เลต (soxhlet ex-
traction) เป็นวิธีสกัดต่อเนื่อง (continuous extrac-
tion) ที่ผสมผสานการรีฟลักซ์และเปอร์โคเลชันเข้า
ด้วยกัน อุปกรณ์ที่ใช้เรียกว่า soxhlet extractor หรือ
soxhlet apparatus การสกัดท�าได้โดยบรรจุสมุนไพร
Figure 1 Percolation [6] ใส่ลงในทิมเบิล (thimble) ซึ่งท�าจากเซลลูโลสหรือถุง
ใส่ตัวอย่างที่ท�าจากกระดาษกรอง (porous bag) แล้ว
(5) รีฟลักซ์ [reflux หรือ heat reflux น�าไปวางใน extractor เมื่อตัวท�าละลายในภาชนะ
extraction (HRE)] เป็นการสกัดสมุนไพรด้วยตัว ด้านล่างได้รับความร้อนจนกลายเป็นไอ จะระเหย
ท�าละลายในระบบปิดและใช้ความร้อนในการสกัด ขึ้นไปกระทบกับความเย็นจากส่วนควบแน่นซึ่งมีน�้า
จนตัวท�าละลายเดือด จากนั้นไอของตัวท�าละลายจะ เย็นไหลหมุนเวียนตลอดเวลา และเกิดการควบแน่น
ระเหยลอยขึ้นไปสัมผัสความเย็นจากส่วนควบแน่น กลับเป็นของเหลวลงสู่ extractor เกิดการแช่สกัด
(condenser) และควบแน่นกลับลงมาเกิดการสกัด สมุนไพรในทิ มเบิลนั้น เมื่อปริมาตรของตัวท�าละลาย