Page 208 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 208

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  691




                 การเลือกตัวท�าละลายที่จะใช้ในการสกัด   ท�าละลายนั้นต้องไม่ท�าปฏิกิริยากับสารที่ต้องการ
            พิจารณาจากความสามารถในการละลายของสาร        สามารถแยกตัวท�าละลายออกจากสารสกัดได้ง่าย ไม่

            ส�าคัญในสมุนไพร ตัวท�าละลายที่เหมาะสมต้อง   เป็นพิษ ราคาไม่แพง ตัวอย่างตัวท�าละลายที่สามารถ
            สามารถสกัดสารที่ต้องการได้ปริมาณมากและสกัด  สกัดสารส�าคัญกลุ่มต่าง ๆ ในสมุนไพร (Table 1)
            สารที่ไม่ต้องการหรือสิ่งเจือปนออกมาได้น้อย ตัว     จากตารางจะเห็นได้ว่า สารกลุ่มหนึ่ง ๆ อาจมีตัว



            Table 1  Extraction solvents for active constituents from medicinal plant [2]

             Solvents                                      Active constituents
             Water                     anthocyanins, tannins, saponins, polypeptides, lectins
             Ethanol                   tannins, polyphenols, flavonoids, terpenoids, sterols, alkaloids
             Methanol                  anthocyanins, terpenoids, saponins, tannins, lactones, flavones, polyphenols
             Chloroform                terpenoids, flavonoids
             Ether                     alkaloids, terpenoids, coumarins, fatty acids
             Acetone                   phenolic compounds, flavonols




            ท�าละลายหลายชนิดที่เหมาะสมที่จะใช้สกัด เนื่องจาก  การสกัดสารได้มากขึ้น จนกระทั่งเมื่อความเข้มข้น

            สารกลุ่มดังกล่าว มีโครงสร้างทางเคมีที่หลากหลายส่ง  ของสารภายในและภายนอกเนื้อเยื่อสมุนไพรอยู่ใน
            ผลให้เกิดความมีขั้วของโมเลกุล (polarity) ที่หลาก  สภาวะสมดุลการเพิ่มเวลาจะไม่เพิ่มการสกัดอีกต่อ
            หลายได้เช่นกัน ความสามารถในการละลายในตัวท�า  ไป อัตราส่วนระหว่างตัวท�าละลายต่อสมุนไพร หาก

            ละลายก็เป็นไปตามหลัก like dissolve like กล่าว  มีค่าสูงผลผลิตที่สกัดได้จะสูง แต่เมื่ออัตราส่วนนี้สูง
            คือ สารที่มีขั้วจะละลายในตัวท�าละลายที่มีขั้ว สารที่มี  เกินไปจะท�าให้สิ้นเปลืองตัวท�าละลายและใช้เวลานาน
            ขั้วใกล้เคียงกันจะละลายกันได้ดี เช่น แทนนิน ละลาย  ขึ้นในการก�าจัดตัวท�าละลายเพื่อท�าให้สารสกัดเข้มข้น

            ในน�้าหรือเอทานอลซึ่งเป็นตัวท�าละลายที่มีขั้ว แต่จะไม่
            ละลายในอีเทอร์หรือในเฮกเซนซึ่งไม่มีขั้ว     2. ประเภทก�รสกัด อ�จแบ่งประเภทของก�ร

                 ส่วนที่ 3 เทคนิคกำรสกัด  รวมถึงวิธีสกัด   สกัดโดยอ�ศัยหลักเกณฑ์ต่�ง ๆ เช่น
            อุณหภูมิ เวลาที่ใช้ในการสกัด อัตราส่วนระหว่างตัว     2.1   แบ่งตามการใช้ความร้อนในการสกัด ได้แก่
            ท�าละลายต่อสมุนไพร (solvent-herb ratio) อุณหภูมิ            (1) การสกัดโดยใช้ความร้อน (hot extrac-

            สูงขึ้นจะเพิ่มความสามารถในการละลายและการ    tion) เช่น การรีฟลักซ์ การกลั่นด้วยน�้า
            แพร่ผ่าน แต่อุณหภูมิที่สูงเกินไปจะเพิ่มการสูญเสีย         (2) การสกัดโดยไม่ใช้ความร้อน (cold

            ตัวท�าละลายจากการระเหย เพิ่มการสกัดสิ่งเจือปน  extraction) เช่น การแช่สกัด การบีบเย็น การใช้ไข
            ออกมา ก่อให้เกิดการสลายตัวของสารที่ไม่ทนความ  มันดูดซับ
            ร้อน ระยะเวลาในการสกัด หากเพิ่มระยะเวลาจะเพิ่ม     2.2   แบ่งตามการใช้ตัวท�าละลายในการสกัด
   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212   213