Page 209 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 209
692 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
ได้แก่ สกัด ไม่ใช้อุณหภูมิสูง ช่วยป้องกันการสลายตัวของ
(1) การสกัดด้วยตัวท�าละลาย (solvent สารที่ไม่ทนต่อความร้อน การแช่สกัดเป็นวิธีที่ง่ายที่สุด
extraction) น�าตัวท�าละลายอินทรีย์เติมลงไปใน แต่ใช้เวลานาน และสิ้นเปลืองตัวท�าละลาย [4]
ตัวอย่างสมุนไพร สารจากสมุนไพรจะละลายออกมา (2) การชง (infusion) เหมาะส�าหรับชิ้น
อยู่ในตัวท�าละลาย การสกัดด้วยวิธีนี้จะใช้ความร้อน ส่วนสมุนไพรที่ไม่แข็งมาก เช่น กลีบดอก ดอก ใบ โดย
ช่วยหรือไม่ก็ได้ แช่สมุนไพรในตัวท�าละลายซึ่งมักจะเป็นน�้า ตั้งบนอ่าง
(2) การสกัดโดยไม่ใช้ตัวท�าละลาย (non- น�้าร้อนเป็นเวลา 15 นาที (แช่สมุนไพรในน�้าร้อน) และ
solvent extraction) เช่น การบีบ ซึ่งอาจใช้ความร้อน ตั้งไว้ให้อุณหภูมิเย็นลงเท่าอุณหภูมิห้อง ประสิทธิภาพ
ช่วยได้เช่นกัน ในการสกัดขึ้นกับชนิดของตัวท�าละลายที่ใช้ ระยะเวลา
2.3 แบ่งตามวัฏภาคที่ใช้สกัด ได้แก่ อุณหภูมิที่ใช้สกัด และเนื้อเยื่อสมุนไพร [5]
(1) การสกัดด้วยของเหลว (liquid-liquid (3) การต้ม (decoction) โดยเติมน�้าลง
extraction) ในสมุนไพร แล้วน�าไปตั้งบนอ่างน�้าร้อนอุณหภูมิ
(2) การสกัดด้วยตัวดูดซับของแข็ง (solid 65-70˚ซ หรือจนตัวท�าละลายเดือด นาน 30 นาที-2
phase extraction) ชั่วโมง แล้วกรองแยกเอาเฉพาะสารละลายส่วนใส
ไปใช้ เมื่อเปรียบเทียบกับการแช่สกัดแล้ว การต้มจะ
3. วิธีก�รสกัดส�รจ�กสมุนไพร มีความร้อนช่วยเพิ่มการละลายของสารส�าคัญบาง
บทความนี้ขอจ�าแนกวิธีการสกัดสารจาก ประเภทจากสมุนไพร นอกจากนี้ความร้อนยังยับยั้ง
สมุนไพร ออกเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ วิธีสกัดแบบดั้งเดิม การท�างานของเอนไซม์กลูคิวโรนิเดส (glucuroni-
(conventional method) วิธีสกัดแบบสมัยใหม่ (in- dase) จึงมีส่วนช่วยป้องกันการสลายตัวของสารกลุ่ม
[5]
novative method) และวิธีสกัดเพื่อเตรียมตัวอย่าง กลัยโคซัยด์ไปเป็นอะกลัยโคน วิธีสกัดนี้เหมาะกับ
วิเคราะห์ (sample preparation) สารที่ทนต่ออุณหภูมิสูง ส่วนสารกลุ่มที่ไม่เหมาะกับ
3.1 วิธีการสกัดแบบดั้งเดิม วิธีนี้ ได้แก่ สารที่ไวหรือสลายตัวเมื่อถูกความร้อน
(1) การแช่สกัด (maceration) โดยเติมตัว น�้ามันระเหยง่าย และวิธีนี้ยังมีข้อจ�ากัดคือจะได้สารที่
ท�าละลายให้ท่วมสมุนไพรในภาชนะปิดเพื่อป้องกันไม่ ไม่ต้องการหรือสารเจือปนออกมาในปริมาณมากด้วย
ให้ตัวท�าละลายระเหย คนเป็นระยะ ๆ มักจะตั้งภาชนะ (4) เปอร์โคเลชัน (percolation) ประกอบ
แช่สกัดไว้ที่อุณหภูมิห้อง ที่ความดันบรรยากาศ ใช้ ด้วย 3 ขั้นตอนหลัก ได้แก่ ท�าให้เปียก (wet) แช่
ระยะเวลาในการสกัด 3-7 วัน จากนั้นเทของเหลวที่ (soak) และปล่อยให้ไหลซึมผ่าน (percolate) โดย
ได้จากการสกัดออกมา น�าไปกรองเพื่อก�าจัดชิ้นส่วน การท�าให้ผงสมุนไพรเปียกด้วยตัวท�าละลาย ซึ่งจะ
สมุนไพรที่ปนมา ส่วนกากสมุนไพรให้น�าไปบีบเอา ท�าให้เนื้อเยื่อสมุนไพรเกิดการพองตัว จากนั้นน�าไป
[3]
ของเหลวออกให้มากที่สุด โดยทั่วไปนิยมแช่สกัด บรรจุในเปอร์โคเลเตอร์ (percolator) แล้วเทตัวท�า
ครั้งละ 2-3 วัน ที่อุณหภูมิห้อง (20-25˚ซ) และสกัด ละลายให้ท่วมสมุนไพร ตั้งไว้นาน 24-48 ชั่วโมง จึง
กากซ�้า สามารถใช้น�้าหรือตัวท�าละลายอินทรีย์เป็นตัว ไขสารละลายที่สกัดได้ออกจากเปอร์โคเลเตอร์ ซึ่งจะ