Page 212 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 212
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 3 Sep-Dec 2023 695
(9) การกลั่นด้วยไอน�้า (steam distilla- เย็นลง น�้ากับน�้ามันระเหยง่ายจะแยกชั้นออกจากกัน
tion) ใช้ส�าหรับสกัดสารระเหยรวมถึงน�้ามันระเหย (Figure 5) วิธีนี้จะเกิดขึ้นที่อุณหภูมิต�่ากว่าจุดเดือด
ง่ายจากสมุนไพร หลักการเช่นเดียวกับการกลั่น ของสาร เนื่องจากองค์ประกอบของน�้ามันระเหยง่ายมี
ด้วยน�้า แต่แตกต่างกันตรงที่วิธีกลั่นด้วยไอน�้า โดย จุดเดือดที่อุณหภูมิในช่วง 150-300˚ซ น�้ามีจุดเดือดที่
ผ่านไอน�้าลงไปที่สมุนไพรที่อยู่ในภาชนะกลั่น ไอน�้า อุณหภูมิ 100˚ซ ที่ความดันบรรยากาศ แต่ส่วนผสม
จะพาน�้ามันระเหยง่ายออกมาและระเหยไปกระทบ ของทั้งสองระเหยได้ที่อุณหภูมิใกล้เคียงจุดเดือดของ
ความเย็นที่ส่วนควบแน่น เกิดการควบแน่นกลับเป็น น�้า วิธีนี้จึงเหมาะส�าหรับการสกัดสารที่ไวต่อความร้อน [8]
ของเหลวไหลลงสู่ภาชนะรองรับ เมื่อปล่อยให้อุณหภูมิ
Figure 5 Steam distillation [9]
(10) การสกัดเชิงกล (mechanical ex- องค์ประกอบ นอกจากใช้วิธีการสกัดเชิงกลแล้วยัง
traction) มักใช้สกัดน�้ามันจากเมล็ดพืชที่มีน�้ามันเป็น นิยมใช้การสกัดด้วยตัวท�าละลาย ซึ่งเป็นการน�าตัว
องค์ประกอบ เช่น งา ทานตะวัน โดยใช้แรงเชิงกลใน ท�าละลายอินทรีย์เติมลงไปในตัวอย่างสมุนไพรจะ
การบีบอัด แบ่งได้เป็น 2 แบบ ได้แก่ การบีบอัดแบบ ใช้ความร้อนช่วยในการสกัดหรือไม่ก็ได้ ให้สารจาก
เย็น (cold pressing) ใช้แรงกดหรือแรงอัดไฮดรอ สมุนไพรละลายออกมาอยู่ในตัวท�าละลาย และอาจ
ลิคกดเมล็ดพืชท�าให้เมล็ดแตกแล้วจึงบีบเอาน�้ามัน ใช้ทั้งการสกัดเชิงกลร่วมกับตัวท�าละลายด้วยก็ได้
ออกมา มักเรียกน�้ามันที่ได้ว่า น�้ามันสกัดเย็น วิธีนี้ 3.2 วิธีสกัดแบบสมัยใหม่
มีข้อด้อยคือได้น�้ามันออกมาในปริมาณน้อยและมี วิธีสกัดแบบดั้งเดิมมักใช้ตัวท�าละลายปริมาณ
น�้ามันตกค้างอยู่ในกากเมล็ดมาก ส่วนการบีบอัดแบบ มากและใช้เวลานานในการสกัด วิธีสกัดแบบสมัยใหม่
ร้อน (hot pressing) ซึ่งจะใช้แรงบีบอัดร่วมกับการใช้ ที่พัฒนาขึ้นจะมีประสิทธิภาพในการสกัดสูงขึ้น ใช้ตัว
ความร้อน ท�าละลายและเวลาในการสกัดน้อยลง แต่เครื่องมือ
การสกัดน�้ามันจากเมล็ดพืชที่มีน�้ามันเป็น สกัดจะมีราคาสูง ในบทความนี้จะน�าเสนอวิธีสกัดที่