Page 207 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 207

690 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




                      วิธีก�รสืบค้นข้อมูล              เกินไปจะท�าให้จุลินทรีย์เจริญเติบโตได้ดี สมุนไพร
                รวบรวมข้อมูลจากหนังสือและวารสารต่าง    อาจมีราขึ้นและความชื้นยังเร่งปฏิกิริยาไฮโดรไลซิส

           ประเทศ น�ามาเรียบเรียงไว้ในบทความเดียวกัน เพื่อให้  (hydrolysis) ก่อให้เกิดการสลายตัวของสารส�าคัญ
           ผู้ประกอบการ ผู้สนใจ และผู้ต้องการเรียนรู้เกี่ยวกับ  ในสมุนไพร ระยะเวลาเก็บรักษา หากเก็บวัตถุดิบ
           การสกัดสารจากสมุนไพรสามารถเข้าถึงและท�าความ  สมุนไพรไว้นานเกินไป ปริมาณสารส�าคัญในสมุนไพร

           เข้าใจได้โดยไม่ยาก และสะดวกในการค้นคว้า     จะลดลงตามระยะเวลาเก็บที่เพิ่มขึ้น โดยทั่วไปไม่ควร
                                                       เก็บไว้นานเกิน 1 ปี
                                                 [2]
           1. ปัจจัยพื้นฐ�นที่มีผลต่อคุณภ�พของส�รสกัด       ส่วนที่ 2 ตัวท�ำละลำยที่ใช้ในกำรสกัด
              แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่
                                                           บทความนี้ แบ่งประเภทตัวท�าละลายที่ใช้การ
                ส่วนที่ 1 สมุนไพร  ซึ่งเป็นวัตถุดิบตั้งต้น ควร  สกัดออกเป็น 2 ประเภท คือ ตัวท�าละลายสีเขียว

           เป็นสมุนไพรที่มีคุณภาพ ถูกต้น ถูกส่วน เก็บเกี่ยวใน  (green solvent) และตัวท�าละลายอินทรีย์อื่น ๆ
           ช่วงเวลาและอายุที่เหมาะสม รวมทั้งการเก็บเกี่ยวที่ถูก       (1) ตัวท�าละลายสีเขียว มีคุณสมบัติไม่เป็น

           วิธี ซึ่งจะมีชนิดและปริมาณสารส�าคัญตามต้องการ   พิษ (non-toxic) ย่อยสลายได้ (biodegradable) น�า
           หากน�าสมุนไพรด้อยคุณภาพมาเข้าสู่กระบวนการ   กลับมาใช้ใหม่ได้ (recyclable) สร้างใหม่ได้ (renew-
           สกัด ผลผลิตที่ได้ก็ย่อมด้อยคุณภาพเช่นกัน หรือน�า  able) ตัวท�าละลายกลุ่มนี้จะมีจุดวาบไฟสูง (high

           สมุนไพรที่ไม่ใช่ส่วนที่ใช้ (part used) มาสกัดก็อาจ  flash point) กล่าวคือ ไม่ใช่สารไวไฟหรือสารติดไฟ
           จะสกัดได้สารออกฤทธิ์น้อยหรือไม่ได้เลย หรือชนิด  ตัวอย่างตัวท�าละลายกลุ่มนี้ เช่น น�้า เอทานอล กลีเซ
           ของสารที่ไม่ได้ตามที่ต้องการ นอกจากนี้สมุนไพรที่  อรอล กรดน�้าส้ม ไอโซโพรพานอล คาร์บอนไดออกไซด์

           เก็บเกี่ยวมาแล้วต้องมีการบริหารจัดการหลังการเก็บ  ไหลยิ่งยวด (supercritical CO 2) โดยน�้าเป็นตัวท�า
           เกี่ยวที่เหมาะสม เช่น การท�าความสะอาด การแปรรูป   ละลายที่นิยมใช้มากที่สุดในกลุ่มนี้ สามารถสกัดสาร
           การเก็บรักษา ระยะเวลาที่เก็บ เพื่อให้ได้วัตถุดิบตั้งต้น  ที่มีคุณสมบัติชอบน�้า (hydrophilic) เช่น ซาโปนิน

           ที่มีคุณภาพเข้าสู่กระบวนการสกัด ในการบดหรือลด  ฟีนอลิก โพลิแซคคาไรด์ ประสิทธิภาพการสกัดของน�้า
           ขนาดสมุนไพร หากขนาดอนุภาคของสมุนไพรยิ่งเล็ก  ยังเพิ่มขึ้นได้ด้วยการเพิ่มอุณหภูมิ (superheating)

           จะส่งผลให้ประสิทธิภาพการสกัดยิ่งเพิ่มขึ้น เนื่องจาก  ซึ่งจะเป็นการลดค่าคงที่ไดอิเล็กทริก (dielectric
           อนุภาคเล็กลงจะส่งผลให้พื้นที่ผิวของสมุนไพรเพิ่มขึ้น   constant) ของน�้าและเพิ่มความสามารถในการแพร่
           มีพื้นผิวสัมผัสตัวท�าละลายเพิ่มขึ้น ตัวท�าละลายแพร่  ผ่านของน�้า น�้าที่มีอุณหภูมิสูง (superheated water)

           ผ่านเนื้อเยื่อสมุนไพรได้มากขึ้นและสารส�าคัญจะแพร่  สามารถสกัดสารที่มีคุณสมบัติชอบไขมัน (lipophilic)
           กระจายออกมาได้มากขึ้นเช่นกัน อย่างไรก็ตาม ถ้า  เช่น น�้ามันระเหยง่าย เนื่องจากความมีขั้วของน�้าจะลด

           ขนาดอนุภาคสมุนไพรเล็กเกินไป การกรองแยกสาร   ลงอย่างมีนัยส�าคัญในช่วงอุณหภูมิ 100-374˚ซ.
           สกัดจากกากจะยากขึ้น สารส�าคัญอาจถูกดูดซับที่ผิว       (2) ตัวท�าละลายอินทรีย์อื่น ๆ เช่น อะซิโตน
           อนุภาคสมุนไพรมากขึ้นด้วย การเก็บรักษาสมุนไพร  คลอโรฟอร์ม บิวทานอล เมทานอล เอทิลอะซีเตท เบนซีน

           ในอุณหภูมิและความชื้นเหมาะสม หากความชื้นสูง  เฮกเซน ไซโคลเฮกเซน
   202   203   204   205   206   207   208   209   210   211   212