Page 171 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 171

654 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




           ลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่พิกัด 17.5817 N 99.9821 E   Table 1 Analysis of heavy metals and DDT contami-
           ผลการบันทึกลักษณะภายนอกของหอมแดง พบว่ามี          nated in shallots

           ลักษณะเป็นพืชล้มลุก ล�าต้นเป็นหัวใต้ดิน มีรากฝอย  Contaminated of Shallots   Results
           กระจุกบริเวณด้านล่างของหัว ลักษณะของหัวเป็นรูป  Total Viable Count     7.0 5 10  cfu/g
                                                                                         2
           ทรงกลมถึงรูปไข่ หัวใต้ดินเป็นสีชมพู ถึงสีชมพูอมม่วง   Fe                 Not Detected

           กว้าง 1-3 ซม. ยาว 2-5 ซม. โคนใบหุ้มซ้อนกัน ใบด้าน  Mn                    1.21 mg/kg
                                                       Cu                           Not Detected
           บนแผ่ออกเป็นกาบ ใบมีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอก
                                                       Zn                          14.19 mg/kg
           ปลายใบเรียวแหลม กว้างประมาณ 0.4-0.8 ซม. ยาว  Pb                          Not Detected

           ประมาณ 40-75 ซม. ลักษณะของช่อดอกออกเป็น     Cd                           0.20 mg/kg
           ช่อคล้ายซี่ร่ม มีดอกสีขาวย่อยจ�านวนมาก ปริมาณ  DDT (Dichlorodiphenyl trichloroethane)  Not Detected
           ความชื้นและปริมาณเถ้ารวมของหอมแดง เท่ากับ

           15.35% และ 2.46% ตามล�าดับ                  เมทานอล ได้สารสกัดสีชมพูเข้ม ผลการสกัดสารสกัด
                1.2 การประเมินคุณภาพหอมแดง             หยาบด้วยตัวท�าละลาย น�้า เอทานอล และเมทานอล

                จากผลการวิเคราะห์ปริมาณความชื้นของ     ได้ร้อยละของสารสกัดหยาบ เท่ากับ 9.07, 8.86 และ
           หอมแดง อ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่ามี  11.53 ตามล�าดับ ผลการสกัดสารส�าคัญจากหอมแดง
           เปอร์เซ็นต์ของปริมาณความชื้นเท่ากับ 15.35 ผลการ  พบว่าการสกัดด้วยตัวท�าละลายเมทานอล ได้ร้อยละ

           วิเคราะห์เปอร์เซ็นต์ของปริมาณเถ้ารวม เท่ากับ 2.46   ของสารสกัดหยาบสูงที่สุด รองลงมาคือ น�้า และเอทานอล
           ผลการวิเคราะห์ปริมาณการปนเปื้อนโลหะหนักของ  ตามล�าดับ

           หอมแดง อ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่า จ�านวน
                                             2
           จุลินทรีย์ทั้งหมดในหอมแดง เท่ากับ 7.0 ´ 10  cfu/g   วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 วิเคราะห์หาปริมาณสาร
           พบปริมาณของ แมงกานีส (Mn) เท่ากับ 1.21 mg/kg   ประกอบฟีนอลิกและปริมาณสารเควอซิทิน

           สังกะสี (Zn) เท่ากับ 14.19 mg/kg แคดเมียม (Cd)   ในสารสกัดหอมแดง อ�าเภอลับแล จังหวัด
           เท่ากับ 0.20 mg/kg ไม่พบการปนเปื้อนเหล็ก (Fe)   อุตรดิตถ์
           ทองแดง (Cu) ตะกั่ว (Pb) ในหอมแดง (Table 1) ผล

           การวิเคราะห์การปนเปื้อนของสารฆ่าแมลงประเภท  1. กำรวิเครำะห์ปริมำณสำรประกอบฟีนอลิก
           สารสังเคราะห์ออร์กาโนคลอรีน ไม่พบการปนเปื้อน  (total phenolic content)
           ของสาร DDT ในหอมแดง                             ผลการศึกษาคุณสมบัติทางเคมี โดยการทดสอบ

                1.3 ผลการสกัดสารสกัดหยาบจากหอมแดง      ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกในสารสกัดหอมแดง
                ผลการสกัดสารสกัดหยาบจากหอมแดง ด้วย     อ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ พบความเข้มข้นของ

           ตัวท�าละลาย น�้า เอทานอล และเมทานอล พบว่า สาร  กรดแกลลิก (gallic acid) เท่ากับ 33.67, 41.29 และ
           สกัดหยาบจากตัวท�าละลายน�้า และเอทานอล ได้สาร  13.67 mg/mL ตามล�าดับ ความเข้มข้นของกรดแกลลิก
           สกัดสีน�้าตาลเข้ม ส่วนสารสกัดหยาบจากตัวท�าละลาย  สูงสุดในตัวท�าละลาย เอทานอล น�้า และเมทานอล
   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176