Page 168 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 168

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  651




            ใช้ยาปฏิชีวนะในการรักษา แต่หากเกิดใช้ยาไม่เหมาะ  2564 มีพื้นที่ในการเพาะปลูก 3,880 ไร่ ได้ ผลผลิต
            สมและก็จะส่งผลท�าให้เกิดการดื้อยาในอนาคตได้ ดัง  ต่อไร่ 2,323 กิโลกรัม โดยพื้นที่เพาะปลูกและได้

            นั้นสารสกัดจากสมุนไพรจึงเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ถูก  ผลผลิตมากที่สุด คือ อ�าเภอน�้าปาด จ�านวน 7,229
            น�ามาใช้ในทางการแพทย์และมีฤทธิ์ที่ใช้ในการยับยั้ง  ตัน รองลงมา คือ อ�าเภอลับแล จ�านวน 944 ตัน และ
            แบคทีเรียส�าหรับเป็นยาทางเลือกในการรักษาโรคติด  อ�าเภอฟากท่า จ�านวน 484 ตัน ตามล�าดับ หอมแดง

            เชื้อได้ [1]                                เป็นหนึ่งในพืชเศรษฐกิจ จังหวัดอุตรดิตถ์ ที่สร้าง
                 หอมแดง (Allium ascalonicum L.) เป็นพืช  รายได้ให้กับเกษตรกรที่เพาะปลูกหอมแดง ข้อมูล
            ผักสวนครัวพื้นบ้าน ที่ได้กล่าวถึงไว้ในหลากหลาย  ผลผลิตหอมแดง ของจังหวัดอุตรดิตถ์ ย้อนหลัง 5

                                                                                      [8]
            ต�ารา ทั้งต�ารายาแผนโบราณ ต�ารับยาไทย ต�ารับยา  ปี (พ.ศ. 2560-2564) มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น  เกษตรกร
            สมุนไพรล้านนา ได้มีการบันทึกสรรพคุณทางยาของ  ส่วนใหญ่หันมาเช่าพื้นที่และเริ่มเพาะปลูกหอมแดงกัน
            หอมแดงว่าเป็นสมุนไพรที่สามารถรักษาโรคได้หลาย  เป็นจ�านวนมากขึ้น ส่งผลท�าให้มีการแข่งขันผลผลิต

            ชนิด จนถึงปัจจุบันมีการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่ศึกษา  ทางการเกษตรที่สูงมากยิ่งขึ้น เกิดเป็นปัญหาหอมแดง
            ถึงสารส�าคัญและฤทธิ์ของหอมแดงอย่างแพร่หลาย   ล้นตลาด ราคาขายตกต�่าและไม่คงที่ ส่งผลกระทบต่อ

            มีการศึกษาที่กล่าวถึงสารส�าคัญในหอมแดงพบสาร  เกษตรกรผู้เพาะปลูก บางรายที่กู้ยืมเงินเพื่อน�าเงิน
                    [2]
            เควอซิทิน  ซึ่งเป็นสารในกลุ่มฟลาโวนอยด์ และยัง  มาลงทุนในการเพาะปลูกหอมแดงขาดทุนจนส่งผล
            มีการศึกษาที่กล่าวถึงการยับยั้ง Streptococcus   กระทบต่อเศรษฐกิจของครอบครัว เกิดเป็นปัญหา

            agalactiae ได้  เป็นหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ช่วยส่ง  ส�าคัญและเป็นความท้าทายอย่างยิ่งของทุกภาคส่วน
                        [3]
            เสริมคุณประโยชน์ของหอมแดง ทั้งฤทธิ์ต้านอนุมูล  ที่จะต้องเร่งแก้ไขปัญหาดังกล่าว เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับ

            อิสระ ต้านการอักเสบ ฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรีย และยับยั้ง  หอมแดงให้กลับมาเป็นพืชเศรษฐกิจที่สามารถสร้าง
            เซลล์มะเร็งเพาะเลี้ยงบางชนิด [4-7]          รายได้ให้กับเกษตรกรในชุมชนอย่างยั่งยืน
                 ส�านักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตร      การศึกษานี้จึงมีแนวคิดน�าหอมแดงพืช

            และสหกรณ์ ได้รายงานข้อมูลร้อยละและปริมาณ    เศรษฐกิจของจังหวัดอุตรดิตถ์มาเพิ่มมูลค่า การ
            ผลผลิตจากการเก็บเกี่ยวหอมแดง ปี พ.ศ. 2564 พบ  ศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ในการยับยั้ง
            ว่าในระดับประเทศมีปริมาณผลผลิตจากการเก็บเกี่ยว  แบคทีเรียและฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ น�าไปพัฒนาต่อ

            หอมแดง เท่ากับ 159,869 ตัน มีพื้นที่การเพาะปลูก  ยอดเป็นผลิตภัณฑ์ในการยับยั้งเชื้อแบคทีเรียบริเวณ
            และเก็บเกี่ยวผลผลิตมากที่สุด คือ ภาคตะวันออก  ผิวหนังจากหอมแดงของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนจังหวัด
            เฉียงเหนือ 98,436 ตัน และภาคเหนือ 61,433 ตัน   อุตรดิตถ์ที่มีมูลค่าอย่างเป็นรูปธรรม

            โดยจังหวัดอุตรดิตถ์มีผลผลิต 9,015 ตัน เป็นอันดับ
            ที่สามของประเทศ ซึ่งเป็นแหล่งเพาะปลูกหอมแดง             ระเบียบวิธีศึกษำ

            ที่ใหญ่ที่สุดและให้ปริมาณผลผลิตจากการเก็บเกี่ยว     การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (experi-
            มากที่สุดในโซนภาคเหนือตอนล่าง  จากการรายงาน  mental research) โดยมีขั้นตอนการด�าเนินการศึกษา
                                      [7]
            ของส�านักงานเกษตรจังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่าในปี พ.ศ.   ดังนี้
   163   164   165   166   167   168   169   170   171   172   173