Page 172 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 172

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  655




            ตามล�าดับ (Table 2)                         สารเควอซิทิน เท่ากับ 0.10 ± 0.01, 0.08 ± 0.01 และ
                 2. การวิเคราะห์ปริมาณสารเควอซิทินในสาร  0.14 ± 0.01 %w/w ในตัวอย่างแห้ง ตามล�าดับ ซึ่ง

            สกัดหอมแดง ด้วยวิธี HPLC                    พบปริมาณสารเควอซิทินสูงสุดในการสกัดหอมแดง
                 ผลการวิเคราะห์ปริมาณสารเควอซิทินในสาร  ด้วยตัวท�าละลายเมทานอล น�้า และเอทานอล ตาม
            สกัดหอมแดง ด้วยวิธี HPLC ของตัวท�าละลาย น�้า    ล�าดับ (Table 2)

            เอทานอล และเมทานอล พบว่าผลการวิเคราะห์ปริมาณ


            Table 2  Total phenolic content and quercetin of shallot extracts by HPLC method

             Solvent                      Gallic acid concentrations (mg/mL)   Quercetin (%w/w of DW)
             Water                                33.67 ± 5.82                  0.10 ± 0.01
             Ethanol                              41.29 ± 3.71                  0.08 ± 0.01
             Methanol                             13.67 ± 7.15                  0.14 ± 0.01




            วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 วิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูล  วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 การวิเคราะห์หาความเข้ม
            อิสระของสารสกัดหอมแดง อ�าเภอลับแล จังหวัด   ข้นที่ต�่าสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญของเชื้อ

            อุตรดิตถ์                                   แบคทีเรีย (Minimum Inhibitory Concen-
                 ผลการทดสอบร้อยละการยับยั้งสารอนุมูล    tration: MIC) และความเข้มข้นที่ต�่าที่สุดที่

            อิสระ (DPPH radical scavenging activity) ใน  สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (Minimum Bacte-
            สารสกัดหอมแดง อ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ พบ  ricidal Concentration: MBC) ของสารสกัด
            ร้อยละการยับยั้งสารอนุมูลอิสระ เท่ากับ 64.10, 41.53   หอมแดง อ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์

            และ 60.89 ตามล�าดับ พบว่า ร้อยละการยับยั้งสาร     ผลการวิเคราะห์คุณสมบัติทางจุลชีววิทยาของ
            อนุมูลอิสระสูงสุดในตัวท�าละลาย น�้า เมทานอล และ   หอมแดง อ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยการ

            เอทานอล ตามล�าดับ (Table 3)                 ทดสอบความเข้มข้นต�่าสุดที่สามารถยับยั้งการเจริญ
                                                        ของเชื้อแบคทีเรีย (MIC) และความเข้มข้นที่ต�่าที่สุด

            Table 3  % Inhibition (DPPH radical scavenging activity)   ที่สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (MBC) ผลการทดสอบ
                                                        พบว่า สารสกัดหอมแดงที่สกัดด้วยตัวท�าละลายน�้า
             Solvent               % Inhibition
                           (DPPH radical scavenging activity)  มีค่า MIC และ MBC ของเชื้อ S. aureus DMST
             Water                64.10 ± 0.02          8013 เท่ากับ 10 และ 10 mg/ml เชื้อ S. epidermidis
             Ethanol              41.53 ± 0.01          DMST 15505 เท่ากับ 2.5 และ 2.5 mg/ml และเชื้อ
             Methanol             60.89 ± 0.01          B. cereus DMST 5040 เท่ากับ 5 และ 5 mg/ml
                                                        ตามล�าดับ
   167   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177