Page 175 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 175

658 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




           เปื้อนโลหะหนัก พบปริมาณของ แมงกานีส (Mn)    ฟีนอลิก แม้จะมีการศึกษาที่กล่าวถึงประโยชน์ของสาร
           เท่ากับ 1.21 mg/kg สังกะสี (Zn) เท่ากับ 14.19 mg/  เควอซิทิน ต่อฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ แต่เนื่อง

           kg แคดเมียม (Cd) เท่ากับ 0.20 mg/kg ใกล้เคียง  จากเควอซิทิน คุณสมบัติในการละลายน�้าได้น้อย
           กับการศึกษาการประเมินการปนเปื้อนของโลหะหนัก  ส่งผลท�าให้การสกัดด้วยเมทานอลจึงมีปริมาณของ
           ในดินและหอมแดง ในพื้นที่ปลูกหอมแดง ต�าบล    สารเควอซิทินมากที่สุด และเมื่อเปรียบเทียบผลการ

                                             [14]
           บ้านตึก อ�าเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย  และ  ทดสอบร้อยละการยับยั้งสารอนุมูลอิสระ พบว่าสาร
           การประเมินการปนเปื้อนของโลหะหนักในหอมแดงที่  สกัดหอมแดงด้วยตัวท�าละลายน�้าดีที่สุด
           จ�าหน่ายในตลาดสด  ไม่พบการปนเปื้อนเหล็ก (Fe)
                           [15]
           ทองแดง (Cu) ตะกั่ว (Pb) ในหอมแดง และไม่พบการ  4. ฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียและฤทธิ์ต้ำนอนุมูล
           ปนเปื้อนของ DDT ในหอมแดง ต�าบลทุ่งยั้ง อ�าเภอ  อิสระของสำรสกัดหอมแดง
           ลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ซึ่งเป็นยาฆ่าแมลงประเภทสาร     จากผลการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างสารสกัด

           สังเคราะห์ออร์กาโนคลอรีน แม้ผลการส�ารวจการเพาะ  หอมแดง อ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ด้วยตัวท�า
           ปลูกหอมแดงจะพบโลหะหนักในดินเพาะปลูก รวมถึง  ละลาย น�้า เอทานอล และเมทานอล พบว่า สารสกัด

           มีการใช้สารเคมีในการเพาะปลูกเพื่อผลผลิตทางการ  หอมแดงที่สกัดด้วยตัวท�าละลาย น�้า มีฤทธิ์ในการ
           เกษตร แต่ในขั้นตอนของการเก็บเกี่ยว เกษตรกร  ยับยั้งแบคทีเรียในกลุ่มแกรมบวกได้ สอดคล้องกับ
           ได้เก็บเกี่ยวหอมแดงและน�ามาผึ่งไว้ที่โรงเรือนเก็บ  การศึกษาฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์การยับยั้ง

           หอมแดง ซึ่งเป็นปัจจัยที่อาจส่งผลท�าให้ปริมาณการ  การเจริญของแบคทีเรียของสารสกัดจากหัวหอมและ
           ปนเปื้อน DDT ในหอมแดงลดลง                   การประยุกต์ใช้ในน�้าผักและผลไม้ผสม  ที่ความ
                                                                                      [16]
                                                       เข้มข้นสูงสุด 10 mg/ml สามารถยับยั้ง S. aureus
           3. ปริมำณสำรประกอบฟีนอลิกและปริมำณสำร       DMST 8013, S. epidermidis DMST 15505 และ
           เควอซิทินในสำรสกัดหอมแดง                    B. cereus DMST 5040 ซึ่งเป็นเชื้อที่พบบริเวณ


                จากผลการทดสอบปริมาณสารประกอบฟีนอลิก    ผิวหนังของมนุษย์ และสอดคล้องกับการทดสอบ
           โดยศึกษาความเข้มข้นของกรดแกลลิก และปริมาณ   ร้อยละการยับยั้งสารอนุมูลอิสระ พบสารสกัด
           สารประกอบในกลุ่มฟลาโวนอยด์โดยศึกษาปริมาณ    หอมแดงด้วยตัวท�าละลายน�้าดีที่สุด ซึ่งอาจเป็นผล

           ของสารเควอซิทิน ซึ่งเป็นสารที่พบมากที่สุดจาก  มาจากสารประกอบอื่น ๆ นอกจากสารประกอบฟีนอ
           การทบทวนวรรณกรรมเกี่ยวกับหอมแดง เมื่อสกัด   ลิกและกลุ่มฟลาโวนอยด์ แม้จะมีปริมาณน้อย แต่อาจ
           หอมแดงจากอ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ด้วยตัวท�า  จะสามารถช่วยเสริมฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระได้

           ละลายที่แตกต่างกัน คือ น�้า เอทานอล และเมทานอล
           พบว่า สารสกัดหอมแดงมีปริมาณสารเควอซิทิน                     ข้อสรุป

           สอดคล้องกับผลการศึกษาการพัฒนาหอมแดงเพื่อ        จากการศึกษาปริมาณสารส�าคัญและฤทธิ์ใน
                                               [4]
           ใช้ในผลิตภัณฑ์เวชส�าอางและผลิตภัณฑ์สปา แต่  การยับยั้งแบคทีเรียของสารสกัดหอมแดง อ�าเภอ
           ไม่สอดคล้องกับผลการทดสอบปริมาณสารประกอบ     ลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ ผลการสกัดพบว่าในสารสกัด
   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179   180