Page 173 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 173

656 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2566




                สารสกัดหอมแดงที่สกัดด้วยตัวท�าละลาย    mg/ml และเชื้อ B. cereus DMST 5040 เท่ากับ 20
           เอทานอล มีค่า MIC และ MBC ของเชื้อ S. aureus   และ 20 mg/ml ตามล�าดับ

           DMST 8013 เท่ากับ 20 และ > 40 mg/ml เชื้อ       ผลการทดสอบความเข้มข้นต�่าสุดที่สามารถ
           S. epidermidis DMST 15505 เท่ากับ 20 และ > 40   ยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย (MIC) และความ
           mg/ml และ เชื้อ B. cereus DMST 5040 เท่ากับ 20   เข้มข้นที่ต�่าที่สุดที่สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (MBC)

           และ 20 mg/ml ตามล�าดับ                      เชื้อแบคทีเรียของสารสกัดหอมแดงด้วยตัวท�าละลาย
                สารสกัดหอมแดงที่สกัดด้วยตัวท�าละลาย    น�้า เอทานอล และเมทานอล พบว่า สารสกัดหอมแดง
           เมทานอล มีค่า MIC และ MBC ของเชื้อ S. aureus   ที่สกัดด้วยน�้า มีความเข้มข้นต�่าสุดที่สามารถยับยั้ง

           DMST 8013 เท่ากับ 40 และ > 40 mg/ml เชื้อ   (MIC) และท�าลาย (MBC) เชื้อแบคทีเรีย (Table 4)
           S. epidermidis DMST 15505 เท่ากับ 40 และ > 40



           Table 4  The minimum inhibitory concentration (MIC) and the minimum bactericidal concentration (MBC) of shallot
                  extracts

            Microorganism                             Shallot (Allium ascalonicum) extracts
                                              Water             Ethanol            Methanol
                                          MIC      MBC       MIC     MBC        MIC      MBC
                                        (mg/ml)  (mg/ml)   (mg/ml)  (mg/ml)   (mg/ml)  (mg/ml)

           S. aureus DMST 8013            10       10        20      > 40       40       > 40
           S. epidermidis DMST 15505      2.5      2.5       20      > 40       40       > 40
           B. cereus DMST 5040             5        5        20       20        20       20




           สรุปข้อมูลส�ำคัญ                            การปนเปื้อนเหล็ก (Fe) ทองแดง (Cu) ตะกั่ว (Pb) และ

                การวิเคราะห์ปริมาณสารส�าคัญและฤทธิ์ในการ  ไม่พบการปนเปื้อนของสาร DDT ในหอมแดง
           ยับยั้งแบคทีเรียของสารสกัดหอมแดง อ�าเภอลับแล      2. การสกัดสารส�าคัญจากหอมแดงด้วยตัวท�า
           จังหวัดอุตรดิตถ์ ได้ค้นพบข้อมูลส�าคัญที่สามารถน�า  ละลาย น�้า เอทานอล และ เมทานอล พบว่า การสกัด

           ไปพัฒนาสู่การยกระดับเป็นผลิตภัณฑ์มุ่งสู่ชุมชน   ด้วยตัวท�าละลายเมทานอล ได้ร้อยละของสารสกัด
           ดังนี้                                      หยาบสูงที่สุด รองลงมา คือ น�้า และเอทานอล ตาม
                1. การประเมินคุณภาพและการปนเปื้อนของ   ล�าดับ

           หอมแดง พบว่า จ�านวนจุลินทรีย์ทั้งหมดในหอมแดง      3. การวิเคราะห์หาปริมาณสารประกอบฟีนอลิก
           เท่ากับ 7.0 ´ 10  cfu/g พบปริมาณของแมงกานีส   ในสารสกัดหอมแดง อ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
                         2
           (Mn) เท่ากับ 1.21 mg/kg สังกะสี (Zn) เท่ากับ 14.19   พบความเข้มข้นของกรดแกลลิกสูงสุดในตัวท�าละลาย
           mg/kg แคดเมียม (Cd) เท่ากับ 0.20 mg/kg ไม่พบ  เอทานอล น�้า และเมทานอล ตามล�าดับ
   168   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178