Page 176 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 176
J Thai Trad Alt Med Vol. 21 No. 3 Sep-Dec 2023 659
หอมแดงมีสารประกอบฟีนอลิกและสารเควอซิทิน กิตติกรรมประกำศ
ซึ่งเป็นสารประกอบในกลุ่มฟลาโวนอยด์ เมื่อเปรียบ ขอขอบคุณ กองทุนส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย
เทียบตัวท�าละลายในการสกัด คือ น�้า เอทานอล และ และนวัตกรรม (กสว.) ที่เห็นความส�าคัญของการ
เมทานอล ผลการศึกษาพบว่า ตัวท�าละลายดีที่สุดที่ ศึกษานี้ และให้การสนับสนุนงบประมาณในการท�า
ใช้ในการสกัดหอมแดง คือ น�้า เนื่องจากได้สารสกัด วิจัย ประจ�าปีงบประมาณ 2565 และขอขอบคุณ
ที่มีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ (DPPH radical เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการเคมี และห้องปฏิบัติการ
scavenging activity) สูงที่สุด และมีความสามารถ ชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย
ในการยับยั้งเชื้อจุลินทรีย์ทั้ง 3 ชนิด ได้แก่ S. aureus, ราชภัฏอุตรดิตถ์ ที่อ�านวยความสะดวกในการเตรียม
S. epidermidis และ B. cereus ซึ่งสามารถน�าความรู้ เครื่องมืออุปกรณ์ตลอดกระบวนการทดลอง
ดังกล่าวไปพัฒนาต่อยอดเป็นผลิตภัณฑ์สมุนไพรเพื่อ
เพิ่มมูลค่าหอมแดงให้กับวิสาหกิจชุมชนต่อไป References
1. Siramon P, Waeonukul R. Chemical composition and
ข้อเสนอแนะ antibacterial activites of rhizome extract from Curcuma
aromatica Salisb. Journal of Science and Technology.
2021;6(2):118-25. (in Thai)
ข้อเสนอแนะในกำรน�ำผลกำรวิจัยไปใช้ 2. Charoenchai L. Development of Allium ascalonicum
L. for cosmeceutical and spa products. Pathum Thani:
จากผลการศึกษาสามารถน�าองค์ความรู้ที่ได้ไป Agricultural Research Development Agency (Public Or-
พัฒนาและต่อยอดสารสกัดหอมแดงเป็นผลิตภัณฑ์ ganization) Faculty of Pharmaceutical Sciences, Rangsit
University; 2017. 125 p. (in Thai)
ในการยับยั้งแบคทีเรีย เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด 3. Mekvimol T, Poonthong G, Chaipunna C, Pumipuntu
ในการรักษาผู้ป่วยด้วยสมุนไพรพื้นบ้านและให้เกิด N. Antimicrobial activity of marigold (Tagetes erecta),
mulberry (Morus indica), and red shallot (Allium as-
ประโยชน์ต่อวิสาหกิจชุมชนต่อไป calonicum) extracts against Streptococcus agalactiae.
International Journal of One Health. 2020;6(1):56-60.
ข้อเสนอแนะส�ำหรับกำรท�ำวิจัยครั้งต่อไป 4. Faculty of Pharmacy, Ubon Ratchathani University.
Shallots. [Internet].2017 [cited 2021 Oct 1]; Available
1. การศึกษาได้ทดสอบหาปริมาณสารเควอ- from: http://www. thaicudedrug.com/main.php?
ซิทิน ซึ่งจากผลการศึกษานี้พบว่ายังมีสารประกอบใน action=viewpage&pid=145. (in Thai)
5. Somkhow P, Junlatat J, Chalomphong N, Prasert T,
กลุ่มฟลาโวนอยด์อื่น ๆ ดังนั้นจึงควรมีการศึกษาถึง Mulateeka P. The efficacy of acne gel containing Allium
สารส�าคัญอื่นในสารสกัดหอมแดงเพิ่มเติม ascalonicum L. extracts. Journal of Traditional Thai
Medical Research. 2022;8(2):99-110. (in Thai)
2. การทดสอบฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ 6. Prakash D, Singh B.N, Upadhyay G. Antioxidant and
ควรมีการทดสอบวิธีอื่น ๆ เพื่อเพิ่มเติม เช่น ABTS free radical scavenging activities of phenols from onion
(Allium cepa). Food Chemistry. 2007;102(4):1389–93.
[2,2’-azinobis-(3-ethyl-benzothiazoline 6-sul- 7. Charoenchai L, Pathompak P, Phetmanee T, Meksuriyen
fonic acid)] หรือการวัดความสามารถในการให้ D. Relationships between chemical compositions of
shallot extracts and antioxidant activity. RSU Interna-
อิเล็กตรอนของสารต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี Ferric tional Research Conference 2017; 28 Apr 2017; Rangsit
reducing antioxidant power (FRAP) University. 2017. p. 97-104.