Page 169 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 169
652 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2566
1. กำรเก็บตัวอย่ำงและกำรเตรียมสำรสกัด (Fe) แมงกานีส (Mn) ทองแดง (Cu) สังกะสี (Zn)
หยำบจำกหอมแดง ตะกั่ว (Pb) และแคดเมียม (Cd) ของหอมแดงด้วยวิธี
สมุนไพรที่ใช้ในการศึกษา คือ หอมแดงจาก Digestion/Flame Atomic Absorption Spectro-
อ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ เก็บตัวอย่างพันธุ์ไม้ photometer
ในเดือนตุลาคมถึงพฤศจิกายน ศึกษาลักษณะทาง 2.2 การปนเปื้อน DDT (Dichlorodiphenyl
พฤกษศาสตร์ของหอมแดง วิเคราะห์ปริมาณความชื้น Trichloroethane) ของหอมแดง
และปริมาณเถ้ารวมของหอมแดง วิเคราะห์ปริมาณการปนเปื้อน DDT ด้วยวิธี
ท�าการเตรียมสารสกัดหยาบจากหอมแดงส่วน In house Method TE-CH-030 Based on Stein-
ที่ใช้คือ หัวหอมแดงสด โดยน�าหอมแดงสดมาปอก wandter, H. Universal 5 min On-line Method
เปลือก ล้างด้วยน�้าสะอาด น�าไปผึ่งแดดเป็นเวลา 24 for Extracting and Isolating Pesticide Residue
ชั่วโมง น�าหัวหอมแดงสดมาปอกเปลือก ล้างด้วย and Industrial Chemicals Fresenius Z. Chem.
น�้าสะอาด น�าไปผึ่งแดดเป็นเวลา 24 ชั่วโมง ท�าการ (1985) No.1155
บดหอมแดงสดให้ละเอียด จากนั้นชั่งหอมแดงที่บด
แล้ว เติมตัวท�าละลายในอัตราส่วน 1:1 (w/v) สกัด 3. กำรวิเครำะห์ปริมำณสำรประกอบฟีนอลิก
สารโดยเปรียบเทียบตัวท�าละลายน�้า เอทานอล และ (total phenolic content)
เมทานอล เขย่าสารด้วยเครื่อง shaking incubator การวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก
ด้วยอัตราเร็ว 120 รอบต่อนาที ณ อุณหภูมิ 40˚ซ เป็น ทั้งหมดที่ละลายน�้าได้ โดยใช้ Folin-Ciocalteau Re-
เวลา 4 ชั่วโมง หลังจากนั้น กรองสารด้วยกระดาษ agent โดยวิธีที่ดัดแปลงจากวิธีของ Thitilertdecha
[9]
กรองเบอร์ 1 ด้วยเครื่อง Buchner Suction Filter et al. (2008) ใช้กรดแกลลิกเป็นสารมาตรฐาน และ
น�าสารละลายที่ได้มาระเหยตัวท�าละลายด้วยเครื่อง วัดค่าการดูดกลืนแสงที่ 760 นาโนเมตร เริ่มจากปิเปต
ระเหยแบบสูญญากาศ (rotary evaporator) ระเหย สารสกัด 0.1 มิลลิลิตร ลงไปในหลอดทดลอง เติมน�้า
ตัวท�าละลายออกจนหมด ศึกษาสีของสารสกัด กลั่น 7.9 มิลลิลิตร เติม Folin-Ciocalteau Reagent
หยาบจากหอมแดง ค�านวณหาร้อยละของสารสกัด ปริมาตร 0.5 มิลลิลิตร ตั้งทิ้งไว้ 3 นาที จากนั้นเติม
หยาบ (% yield crude extract) ตามสูตรค�านวณ ร้อยละ 20 โซเดียมคาร์บอเนต (Na 2CO 3) ปริมาตร
และเก็บสารสกัดไว้ที่อุณหภูมิ 2-8˚ซ เพื่อท�าการ 1.5 มิลลิลิตร ผสมให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิ
ทดสอบต่อไป ห้องเป็นเวลา 1 ชั่วโมง วัดค่าการดูดกลืนแสงที่ 760
% yield = (น�้าหนักของสารสกัดหยาบ/น�้าหนัก นาโนเมตร
ของหอมแดงสดที่ใช้) ´ 100
4. กำรวิเครำะห์ปริมำณสำรเควอซิทิน (quer-
2. กำรศึกษำคุณภำพของหอมแดง cetin) ในสำรสกัดหอมแดง
2.1 การปนเปื้อนโลหะหนักของหอมแดง การวิเคราะห์หาปริมาณสารเควอซิทินใน
วิเคราะห์ปริมาณการปนเปื้อนโลหะหนัก เหล็ก สารสกัดหยาบของหอมแดง อ�าเภอลับแล จังหวัด