Page 174 - Acrobat J Trad-21-3-2566
P. 174

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 3  Sep-Dec  2023  657




                 4. การวิเคราะห์ปริมาณสารเควอซิทินในสาร  ซม. ยาว 2-5 ซม. โคนใบหุ้มซ้อนกัน ใบด้านบนแผ่ออก
            สกัดหอมแดง ด้วยวิธี HPLC พบปริมาณสารเควอซิทิน   เป็นกาบ ใบมีลักษณะเป็นรูปทรงกระบอก ปลายใบ

            สูงสุดในการสกัดหอมแดงด้วยตัวท�าละลายเมทานอล   เรียวแหลม กว้างประมาณ 0.4-0.8 ซม. ยาวประมาณ
            น�้า และเอทานอล ตามล�าดับ                   40-75 ซม. ลักษณะของช่อดอกออกเป็นช่อคล้ายซี่ร่ม
                 5. ผลการทดสอบร้อยละการยับยั้งสารอนุมูล  มีดอกสีขาวย่อยจ�านวนมาก

            อิสระในสารสกัดหอมแดง อ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
            พบร้อยละการยับยั้งสารอนุมูลอิสระ เท่ากับ 64.09,   2. กำรประเมินคุณภำพหอมแดง
            41.53 และ 60.89 ตามล�าดับ พบว่า ร้อยละการยับยั้ง     ปริมาณความชื้นของหอมแดงจากอ�าเภอลับแล

            สารอนุมูลอิสระสูงสุดในตัวท�าละลาย น�้า เมทานอล    จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่ามีเปอร์เซ็นต์ของปริมาณ
            และเอทานอล ตามล�าดับ                        ความชื้นเท่ากับ 15.353% ซึ่งเป็นไปตามมาตรฐาน
                 6. ผลการวิเคราะห์คุณสมบัติทางจุลชีววิทยา  ข้อก�าหนดมาตรฐานของหอมแดงตาม Thai Herbal

                                                                             [12]
            ของหอมแดงจากอ�าเภอลับแล พบว่า สารสกัด       Pharmacopoeia (2016)  ปริมาณเถ้ารวมของ
            หอมแดงที่สกัดด้วยน�้า มีความเข้มข้นต�่าสุดที่สามารถ  หอมแดง มีเปอร์เซ็นต์ของปริมาณเถ้ารวม เท่ากับ

            ยับยั้งการเจริญของเชื้อแบคทีเรีย (MIC) และความ  2.459% หอมแดงที่มีปริมาณเถ้ารวมน้อยที่สุด ได้แก่
            เข้มข้นที่ต�่าที่สุดที่สามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรีย (MBC)   หอมแดงจากอ�าเภอลับแล ตามมาตรฐานข้อก�าหนด
            เชื้อแบคทีเรีย ดีที่สุด โดยมีค่า MIC และMBC ของ  มาตรฐานของหอมแดงตาม Thai Herbal Pharma-

                                                                     [13]
            เชื้อ S. aureus DMST 8013 เท่ากับ 10 และ 10 mg/  copoeia (2016)  ก�าหนดให้ปริมาณเถ้ารวมของ
            ml เชื้อ S. epidermidis DMST 15505 เท่ากับ 2.5   หอมแดงไม่เกิน 2% w/w ผลการศึกษาของหอมแดง

            และ 2.5 mg/ml และ เชื้อ B. cereus DMST 5040   ครั้งนี้สูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานที่ก�าหนดเล็กน้อย แสดง
            เท่ากับ 5 และ 5 mg/ml ตามล�าดับ             ถึงอาจเกิดจากสารอนินทรีย์ เช่น การใช้ปุ๋ยเคมีหรือ
                                                        การสะสมของอนินทรีย์ที่ตกค้างในดินและน�้าใน
                           อภิปรำยผล                    บริเวณเพาะปลูก ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการปนเปื้อน

                                                        โลหะหนักในหอมแดง
            1. ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์ของหอมแดง                  จากการวิเคราะห์ปริมาณการปนเปื้อนของ


                 จากผลการส�ารวจการเพาะปลูกหอมแดงจาก     หอมแดง อ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่า จ�านวน
            อ�าเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์ สอดคล้องกับการ  จุลินทรีย์ทั้งหมดในหอมแดง เท่ากับ 7.0 ´ 10  cfu/g
                                                                                          2
            ศึกษาลักษณะของหอมแดง ในพื้นที่ภาคเหนือ[4] พบ  ซึ่งสูงกว่ามาตรฐานของหอมแดง ตามข้อก�าหนดของ

            ว่ามีลักษณะภายนอกที่คล้ายเคียงกัน ลักษณะเป็นพืช  Thai Herbal Pharmacopoeia (2016)  แต่ทั้งนี้
                                                                                       [12]
            ล้มลุก ล�าต้นเป็นหัวใต้ดิน มีรากฝอยกระจุกบริเวณ  สามารถพัฒนาคุณภาพหอมแดงโดยผ่านการฉาย

            ด้านล่างของหัว ลักษณะของหัวเป็นรูปทรงกลมถึง  รังสีแกมมาเพื่อควบคุมคุณภาพของหอมแดงให้เป็น
            รูปไข่ หัวใต้ดินเป็นสีชมพู ถึงสีชมพูอมม่วง กว้าง 1-3   ไปตามมาตรฐานที่ก�าหนด  ผลการวิเคราะห์การปน
                                                                            [4]
   169   170   171   172   173   174   175   176   177   178   179