Page 159 - J Trad Med 21-1-2566
P. 159

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  139




            ไกษย คือ ยาประจุไกษยทั้งปวงท่านให้เอา ลูกมะตูม  เป็นฝีมันข้นหรือฝีอย่างอื่น ถ้าฝีชนิดใดชนิดหนึ่งแม้มี
            อ่อน 1ลูกพิลังกาสา 1 บอระเพ็ด 1 แห้วหมู 1 เปลือก  ขนาดเท่าเมล็ดพุทราอยู่ในที่ที่อาจจะลุกลามไปได้ไม่

            มะหาด 1 รากเจตมูลเพลิง 1สะค้าน 1 กรุงเขมา 1   พึงให้กุลบุตรนั้นบวชแต่ถ้าอยู่ในที่ที่จะไม่ลุกลามไป
            ดอกจันทน์ 1 กระวาน 1พริก 1 ดีปลี 1 ลูกสลอด 1   ได้ขนาดเท่าเมล็ดพุทราในที่ปกปิดจะให้บวชก็ควรแม้
            ยาทั้งนี้เอาสิ่งละ 2 สลึงต�าเป็นผงละลายน�้าผึ้งกินเท่า  อยู่ในที่ที่จะไม่ลุกลามไปได้ในที่ที่ปกปิดมีหน้าเป็นต้น

            เม็ดพรุดทราแก้เสียดในอกหาย หายทุกประการแล   ก็ไม่พึงให้บวชกุลบุตรผู้เป็นฝีนั้นแม้เมื่อเยียวยาแล้ว
            ไข้พิษ 7 จ�าพวกลมเป็นก้อนในทรวงและพรรดึกแล  จะให้บวชควรรักษาร่างกายให้มีผิวเรียบแล้วจึงให้บวช
            ท้องมาน มานไกษย 7 จ�าพวก สะอึก 4 จ�าพวก ขี้เรื้อน   ได้ [21]

                                           [17]
            หิด สันนิบาต 7 จ�าพวกหายทุกประการแล  นอกจาก      ในทางการแพทย์แผนไทย “ฝี’’ ปรากฏ ในต�ารา
            ยาที่อยู่ในคัมภีร์การแพทย์แผนไทยแล้ว ยังมียาแก้  พระโอสถครั้งรัชกาลที่ 2 ที่ในต�ารับของขุนประสิทธิ
            หิด จากต�ารับยากลางบ้านใช้ เอาก�ามะถันเหลือง ป่น  แวทยาทูลเกล้าถวาย (พ.ศ. 2355) กล่าวว่า “...เป็นโรค

            ใส่ในน�้ามันหมูจนเคี่ยวจนละลายทาที่เป็นหิดหรือกิน  อันจะระณะกล่าววิทิโรค เหตุด้วย วาโย โลหิต มังษะ
                                             [18]
            กล้วยจิ้มก�ามะถันป่นก็ได้ยานี้ศักดิ์สิทธิ์มาก  ต�ารับ  ทั้ง 3 ระคนวิบัติตังขอบคุณสมมุติว่าฝีมีพิษม์นั้น...’’ [22]
            ที่ใช้รักษา หิดประกอบไปด้วยยากินเพื่อรักษาธาตุและ  นั้นแสดงว่า ฝี เกิดจาก วาโย (ลม) โลหิต และ มังษะ
            สมุฏฐานภายในร่างกายและยาทา ใช้ส�าหรับทาบรรเทา  ทั้ง 3 ระคนกันท�าให้เกิด และการเกิด “ฝี’’ ในคัมภีร์
            อาการคันและฆ่าตัวหิดที่อยู่ใต้ผิวหนัง ช่วยสมานผิวที่  ทิพมาลา ซึ่งเป็นคัมภีร์เรื่องว่าด้วยเรื่องวัณโรค หรือที่

            เกิดจากแผล เป็นต้น                          เรียกว่า ฝีกล่าวว่า “ ลักษณะวัณโรคอันบังเกิดภายใน
                   1.2  ฝี (Abscess, Boils หรือ Furuncles)   นั้นเกิดเพื่อจตุธาตุและตรีสมุฏฐานอันใดอันหนึ่งซึ่งจะ

            เป็นการอักเสบของต่อมไขมันและขุมขนพบได้บ่อย  วิปริตเป็นชาติจะละนะโดยหย่อนพิการระคนเข้ากัน
                      [19]
                                                                                   [23]
            ในคนทุกวัย  ฝีจ�าพวกหนึ่งเป็นต่อมบวมขึ้นกลัด  แล้วตั้งต่อมขึ้นมีประเภทต่าง ๆ...’’  จากข้อความ
            หนองข้าง ใน เรียกชื่อต่างกันหลายชนิด มีลักษณะ  ดังกล่าวที่บอกลักษณะของฝี ที่มีลักษณะตั้งต่อมขึ้น
            เป็น  ก้อนเนื้อเป็นไตแข็ง ตรงกลางจะมองเป็นเม็ด   ที่ผิวหนัง ซึ่งเป็นอาการแสดงถึง สมุฏฐานธาตุทั้ง 4
            เล็ก ๆ เรียกว่าหัวฝีมักขึ้นตามร่างกาย มีขนาด เล็กบ้าง  ในร่างกาย และตรีสมุฏฐาน วิปริต พิการไป ในจารึก
            ใหญ่บ้างตามชนิดของฝี  ในพระวินัยปิฎกมหาวรรค  ต�ารายาวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม หรือวัดโพธิ์
                              [20]
            กล่าวถึงปัญจาพาธวัตถุว่าด้วยอาพาธ 5 ชนิดซึ่งเกิด  (พ.ศ. 2374) ระบุ ลักษณะวัณโรค หรือที่เรียกว่าฝี มี
            ระบาดขึ้นในแคว้น มคธได้แก่ (1) โรคเรื้อน (2) โรค  10 ชนิดคือ (1) ฝีปลวง (2) ฝีกุตะณะราย (3) ฝีมาณ
            ฝี (3) โรคกลาก (4) โรคมองคร่อ (5) โรคลมบ้าหมู   ทรวง (4) ฝีธนูทรวาต(5) ฝีภาชร (6) ฝียอดคว�่า (7) ฝี

            ต่อมาพระพุทธเจ้าทรงห้ามคนเป็นโรคดังกล่าวเข้ามา  รวงผึ้ง (8) ฝีมะเร็งทรวง (9) ฝีทรสูตร และ (10) ฝีธนู
                                                            [24]
            บรรพชาอุปสมบท  ซึ่งโรคฝีเป็น 1 ใน 5 โรคดังกล่าว  ทวน  ส่วนต�ารายาการรักษานั้นมีลักษณะเฉพาะฝี
                          [21]
            ด้วยเพราะเมื่อมีอาการหรือเป็นขึ้นแล้วมักเกิดรอยโรค  แต่ละประเภท มีทั้งยากิน ยาทา ยาพ่น ยารม ยาสุน
            และเป็นเรื้อรัง ฝี (คณฺโฑ) ได้แก่ ฝี มีฝีมันข้นเป็นต้นจะ  และยาพอก เป็นต้น
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164