Page 164 - J Trad Med 21-1-2566
P. 164
144 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
ที่ว่า “สิทธิการิยะ พระอาจารย์เจ้า ท่านกล่าวถึงต้อทั้ง ระหว่างชนชั้นปกครอง ซึ่งสอดคล้องกับประวัติศาสตร์
ปวงให้จักษุมืด ฟาง แฉะ เปียก มัว หมอก ดังมีราย น�าศาสนาพุทธนิกายลังกาวงศ์เก่าเข้าสู่ล้านนา ของพระ
ชื่อของต้อดังนี้ ต้อเนื้อ ต้อสายโลหิต ต้อแดงด้วงใหญ่ มหาสุมนเถระตามค�าทูลขอของพระเจ้ากือนากษัตริย์
ต้อดำา ต้อกระจก...’’ [23] แห่งอาณาจักรล้านนาในปีพุทธศักราช 1912 ท�าให้
อย่างไรก็ดี กลุ่มโรคที่ปรากฏในจารึกค�า ศิลปวิทยาการและตัวอักษรในสมัยสุโขทัยได้แพร่ไป
อธิษฐาน ทั้ง 3 กลุ่มโรค เป็นกลุ่มโรคที่ก่อให้เกิด ยังอาณาจักรล้านนาดังปรากฏหลักฐานในจารึกหลัก
ความทุกข์ทรมาน ซึ่งส่วนมากเป็นกลุ่มโรคผิวหนัง ที่ 62 จารึกวัดพระยืน พุทธศักราช 1913 [33]
ทางการแพทย์แผนไทยโรคและอาการเจ็บป่วยที่แสดง ด้วยเหตุนี้ จารึกค�าอธิษฐานจึงถือเป็นจารึกที่
พยาธิสภาพที่ผิวหนัง มีลักษณะของโรคและอาการ ปรากฏชื่อโรคที่เก่าที่สุดของไทย และมีเนื้อหาบางส่วน
เกิดที่รุนแรง ซับซ้อนแตกต่างกันไปตามสาเหตุของ ของค�าอธิษฐานเกี่ยวกับอาการเจ็บป่วยซึ่งเป็นโรคร้าย
การเกิดโรค จึงท�าให้อาการที่แสดงออกทางผิวหนังมี แรงที่ไม่พึงปรารถนา ดังปรากฏในวรรณกรรมไตรภูมิ
ลักษณะที่แตกต่างกันในแต่ละรูปแบบ และระยะการ กถา กล่าวถึงโรคที่ไม่พบเจอในชาวอุตกกุรุทวีปเลย
เกิดโรค เพราะผิวหนังสามารถมองเห็นได้ชัดเจนเมื่อ เพราะคนในอุตกกุรุทวีป เป็นคนมีบุญมีวาสนามาก
มีลักษณะผิดปกติ ส่วนกลุ่มโรคกล้ามเนื้อและกระดูก แสดงถึงวัฒนธรรมความเชื่อเกี่ยวกับวิถีชีวิตหรือ
และดวงตาและการมองเห็นนั้น เป็นกลุ่มโรคที่แสดง ชีวทัศน์ของสังคมไทยสมัยสุโขทัย กล่าวคือการมอง
ถึงความผิดปกติของอวัยวะในร่างกาย และชื่อโรค ว่าการโอยทานเป็นความสุขในการด�าเนินวิถีชีวิต และ
และอาการที่ปรากฏเป็นชื่อสมมุติเรียกของโรคเพื่อใช้ การมีโรคภัยต่าง ๆ เป็นความทุกข์ของการด�าเนิน
เป็นการแบ่งแยกและจ�าแนกลักษณะโรคและอาการที่ ชีวิต เมื่อพบว่าโรคภัยต่าง ๆ ที่พบเห็นในปัจจุบันเป็น
[34]
ปรากฏเพื่อง่ายต่อการดูแลรักษาและเป็นที่รับรู้เข้าใจ ทุกขภาวะ การท�าดีท�าบุญจะท�าให้ปราศจากการ
ของผู้คนในสังคม เป็นโรคร้าย และคติการรับรู้เกี่ยวกับโรคร้ายต่าง ๆ
เหล่านี้ ปรากฏพบอยู่ในหมู่คนไทยทั้งในสุโขทัย ล้าน
อภิปร�ยผล นา และล้านช้าง แสดงถึงความสัมพันธ์ของผู้คนและ
จารึกค�าอธิษฐาน ซึ่งเนื้อหาเป็นการอธิษฐานของ การด�าเนินชีวิตของคนในสมัยโบราณที่ยังยึดมั่นใน
สตรีชั้นสูงที่ปรากฏชื่อโรค ในสมัยนั้น ซึ่งศาสตราจารย์ การท�าความดี การปฏิบัติตนตามแนวทางพุทธศาสนา
นิยดา เหล่าสุนทร ราชบัณฑิต เสนอว่า “ไข้เจ็บเล็บ และในคัมภีร์พระไตรปิฎกอรรถกถา และ คัมภีร์ลลิต
เหนื่อยเมลื่อยห้านคร้านอิด เป็นหิดเป็นฝี’’ เป็นการ วิสตระ ซึ่งเป็นคัมภีร์ทางพุทธศาสนา ยังปรากฏชื่อโรค
ใช้ส�านวนภาษาในจารึกแสดงถึงการใช้ภาษาร้อยแก้ว และอาการเหล่านี้อยู่ เช่น กลุ่มโรคที่เกี่ยวกับผิวหนัง
ที่มีจังหวะและสัมผัส ซึ่งความเรียบง่ายเป็นลักษณะ หรือโรคที่ติดเชื้อท�าให้มีตุ่มที่ผิวหนัง เช่น โรคกลาก
[32]
หนึ่งของภาษาในสมัยสุโขทัย จารึกหลักนี้จึงแสดง เกลื้อน โรคผิวหนัง โรคพุพอง โรคฝีดาษ โรคผดผื่น
[35]
ถึงประจักษ์พยาน การใช้ตัวอักษรสุโขทัย ส�านวน คัน โรคหิด ซึ่งโรคเหล่านี้เป็นโรคที่เกิดขึ้นในสมัย
ภาษาสุโขทัย ในล้านนา ผ่านทางอิทธิผลทางศาสนา พุทธกาลหลายโรคหลายอาการยังคงเป็นปัญหาต่อ
และวรรณกรรม ร่วมถึงการส่งสมณทูต หรือการสมรส สุขภาพที่เกิดขึ้นของผู้คนในสมัยต่อ ๆ มา เป็นโรคเจ้า