Page 157 - J Trad Med 21-1-2566
P. 157

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  137




            ตาและหู เกี่ยวกับการมองและการได้ยินเสียง ผู้ที่มี  ทรมานอย่างแสนสาหัส จะเห็นว่า การถือน�้าสัจจา (การ
            ความผิดปกติในอวัยวะทั้ง 2 อย่างนี้อาจถือว่าเป็น  ถือน�้าสาบาน) ของเจ้าเมืองตอนบน และค�าสาบาลถือ

            โรคและอาการที่ร้ายแรง น�าไปสู่ความพิการ ซึ่งการ  น�าฝ่ายหน้าในสมัยพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาล
            มองเห็นและการได้ยินถือว่าเป็นเป็นประสาทสัมผัส  ที่ 5 นั้นยังปรากฏชื่อโรคและลักษณะอาการเหมือน
            ที่ส�าคัญของมนุษย์ในการด�าเนินชีวิต  นอกจากนี้ยัง  ในค�าอธิษฐานในจารึกค�าอธิษฐานและไตรภูมิกถา

            ปรากฏในเอกสารค�าสาบานถือน�้าฝ่ายหน้าในสมัย  นั้นแสดงว่าโรคหรืออาการเหล่านี้คนที่ป่วยเป็นโรคดัง
            พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 ความว่า “...ขอ  กล่าว เป็นบุคคลที่ผิดค�าพูด ไม่มีสัจจะ ถึงได้เจ็บป่วย
            อำานาจเทพยดาจงบันดาลให้เกิดฝีพิศฝีกาลอติสาร  ด้วยโรคที่น่ากลัว เป็นบุคคลที่น่าเวทนา ยากจนเข็ญใจ

            ชราพาธสรรพโรคพิบัติต่าง ๆ ทุกประการแด่ข้าพเจ้า  หาความสุขมิได้ ได้รับทุกข์ทรมานจากโรคและอาการ
                                  [14]
            ผู้ทรยศคิดคดไม่ซื่อสัจ...’’  จะเห็นได้ว่ากล่าวถึง  ที่เป็น ดังนั้นชื่อโรคต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตั้งแต่อดีตยังเป็น
            โรคฝีพิศฝีกาลอติสาร ในการสาบแช่ง ซึ่งแสดงถึง  ที่รับรู้และเป็นที่รู้จักแสดงถึงภาพความน่ากลัว ความ

            ความร้ายแรงของโรคและเป็นโรคที่รักษายากล�าบาก   ร้ายแรง ของโรคและอาการเหล่านี้ต่อผู้คนในสังคม
            บางอาการรักษาไม่หายขาด หากเป็นจะต้องได้รับทุก















            ภาพที่ 3  สำาเนาภาพถ่ายตัวอย่างเอกสาร ใบลานของล้านนาเรื่องการถือนำ้าสัจจา (การถือนำ้าสาบาน) ของเจ้าเมือง
                    ตอนบน (เชียงแสน เมืองวะ เมืองยอง เมืองหลวย เมืองกาย เมืองลวง เมืองเชียงรุ้ง เมืองหุน) พ.ศ. 2354
                    หน้า 103 อักษรธรรมล้านนา
                    ที่มา: สรัสวดี อ๋องสุกล,ปริวรรต “คำากล่าวถือนำ้าสัจจาของเจ้าเมืองตอนบน (พ.ศ. 2354)” ในหลักฐานประวัติศาสตร์
                    ล้านนาจากเอกสารคัมภีร์ใบลานพับสา, (ภาควิชามนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โครงการคัมภีร์ปริวรรตใบ
                    ลานพับหนังสา จากอักษรไทยล้านนาเป็นอักษรไทยกลาง,2534), หน้า 130




                 อย่างไรก็ดี โรคและอาการที่ปรากฏทั้งหมดนี้  ของประเทศในปัจจุบัน มีลักษณะความเชื่อเรื่องโรค

            เป็นโรคที่ก่อให้เกิดความทุกข์ ความเจ็บปวด ความ  และความเจ็บป่วยลักษณะคล้ายกัน เป็นโรคที่เกิด
            ไม่สบาย ย่อมแสดงให้เห็นถึง การรับรู้เรื่องโรคและ  จากความเจ็บป่วยในร่างกายหลายระบบ ส่วนมากมัก

            อาการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นในสังคมสมัยสุโขทัย และ  เป็นโรคผิวหนัง อาจจะเป็นเพราะเมื่อเกิดพยาธิสภาพ
            ค�าเรียกลักษณะอาการเหล่านี้บางลักษณะอาการนี้  ที่ผิวหนังจะสามารถมองเห็นและสังเกตถึงลักษณะผิด
            ยังปรากฏในเอกสารโบราณทางเหนือ และภาคกลาง    ปกติได้ชัดเจน ซึ่งบางโรคเป็นโรคที่มีมาแต่โบราณ เช่น
   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162