Page 162 - J Trad Med 21-1-2566
P. 162
142 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2566
“ลมล�าโหก’’ ซึ่งผู้วิจัยสันนิษฐานว่าเป็นการเรียกชื่อ ลมชุ หมายถึง ไอ หายใจติด ขัด หายใจไม่ทั่วท้อง [20]
โรค ที่เกิดขึ้นมีพยาธิสภาพที่ร่างกาย มีต�าแหน่งที่ใช้ มะโหก จึงอาจหมายถึงการเรียกชื่อโรค หรือ ลักษณะ
ในการรักษาโรค บริเวณกลางหน้าอก อาจเป็นต�าแหน่ง ของอาการโรคกษัยตามด้วยอวัยวะในส่วนนั้น ๆ
จุดใช้ในการบีบนวด หรือปล่อยปลิง (ใช้ปลิงในการ ที่มีอาการเจ็บป่วยที่แสดงออกมาให้เห็น ซึ่งค�าว่า
รักษาโรค) ซึ่งต้องท�าการศึกษาค้นคว้าต่อไป “ล�าโหด’’ ในจารึกค�าอธิษฐานบรรทัดที่ 18 ต่อจากค�า
แต่ผู้วิจัยสันนิษฐานว่า ค�าว่า “ล�าโหด’’ อาจจะ ว่า “ฝีมะเร็ง’’ ผู้วิจัยสันนิษฐานว่า ล�าโหด (มะโหก,
เป็นค�าเดียวกันกับค�าว่า “ มะโหก’’ ที่ปรากฏในต�ารา บ่าโหก) อาจจะเป็นการเรียกการขยายความของค�า
ยาล้านนา ซึ่งค�าว่า “มะโหก’’ ในต�ารายาล้านนายังอาจ ว่า “ฝีมะเร็ง’’ (มะเฮง, บ่าเฮง) ฝีมะเร็งล�าโหด ซึ่งยัง
[26]
ใช้ค�าว่า “บ่าโหก’’ หรือ โรคกระษัย มีด้วยกันหลาย มีปรากฏเรียกและออกเสียง ชื่อโรคและอาการเหล่า
ชนิด เช่น มะโหกเลือดแกมหนอง หมายถึง ถ่ายเป็น นี้อยู่ในต�ารายาล้านนา ผู้วิจัยจึงจัดอยู่กลุ่มโรคและ
เลือด เป็นหนอง ปวดเอว ปวดเมื่อยหลัง ไหล่ มะโหก อาการเดียวกัน เป็นโรคที่แสดงพยาธิสภาพที่ผิวหนัง
ภาพที่ 4 คัมภีร์แผนนวด ระบุจุดตำาแหน่ง จุด 3 จุดบริเวณหน้าอก “ลมลำาโหก 9 ตัว”
ที่มา: คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุในคณะอำานวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว, ตำาราเวชศาสตร์ฉบับหลวงรัชกาลที่ 5, (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, 2540), 90
2. กลุ่มโรคและอาการระบบกล้ามเนื้อและ กะโผลกกะเผลก หรือเป็นง่อยเปลี้ย ในภาษาอีสาน
กระดูก ได้แก่ “ห้าน’’ ซึ่งนับว่าเป็นความพิการ ตามพจนานุกรมภาษาอีสาน ของอาจารย์ปรีชา พิณ
หรือการเจ็บป่วยอย่างหนึ่งที่สามารถเกิดขึ้นได้ ทอง แปลว่า เขยก คนขาเขยก เรียก คนขาห้าน อย่าง
หลายสาเหตุ “ห้าน’’ เป็นค�าไทยโบราณแปลว่า ว่า มีหมาขาห้าน มีแมวขาเด่ มีหมูปากเว้ มีม้าปาก
[9]
กะเผลก อาการเดินไม่ปกติ เอียงไปข้างใดข้างหนึ่ง เหวอ (ย่า) หมั่นเทื่อเดียวหลังห้าน คร้านเทื่อเดียวหลัง