Page 158 - J Trad Med 21-1-2566
P. 158

138 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           โรคเรื้อน หรือกุฏฐัง เป็นโรคติดต่อเรื้อรังชนิดหนึ่ง ใช้  ตุ่มแดง ตุ่มน�้าใส และต�าแหน่งที่พบบ่อย ได้แก่ ซอก
           ระยะเวลาในการดูแลรักษานานและเกิดพยาธิสภาพที่  นิ้วมือ ซอกนิ้วเท้า ข้อมือ ข้อศอก รักแร้ก้น สะดือ เต้า

           ผิวหนังชัดเจน มีความรุนแรงของโรคส่งผลต่อสุขภาพ  นม และอวัยวะเพศ ใน เด็กเล็กมักเป็นทั่วตัว และอาจ
           ร่างกายหลายระบบ ระยะลุกลาม ท�าให้เกิดความ   พบที่ใบหน้า ศีรษะ และฝ่ามือ ฝ่าเท้า [16]
           พิการ มือเท้าหงิกและกุด จมูกยุบ ใบหูหนาบิดผิด     จากคัมภีร์วรโยคสาร คัมภีร์ทางด้านการแพทย์

             [15]
           รูป เป็นต้น ท�าให้ผู้ที่เป็นโรคนี้อยู่ในภาวะที่ทรมาน  แผนไทย กล่าวถึงสรรพคุณของสมุนไพรที่ใช้รักษา
           ทั้งด้านร่างกายและจิตใจ เป็นที่หวาดกลัวของสังคม    โรคหิด ได้แก่ มรกฏ สังข์ ฟองน�้าทะเล, ตุ๊กต�่า โคริกา
           ถือว่าเป็นโรคติดต่อที่มีพยาธิสภาพรุนแรงโรคหนึ่งใน  กระท�าให้ผอมระงับโรคกัณฑุโรคหิด คัณฑุ (ฝี) โรคฝี

           สมัยโบราณ                                   ระงับโรคเกิดเพราะกิมิชาติ ระงับเสมหะระงับพิศม์ [17]
                                                       และคัมภีร์ธาตุวิวรณ์ ระบุลักษณะอาการ หิด ฝี ความ
           4. ลักษณะของโรคและอ�ก�รที่ปร�กฏในจ�รึก      ว่า “...อาโปธาตุวิปราศ อันธการ์ ยังชนผู้โรคา ย่อม
              คำ�อธิษฐ�น                               พรุนเปื้อยเป็นหิดฝีบางที่เป็นเม็ดคัน ทั่วกายนั้นก็ย่อม

                ชื่อโรคและอาการเจ็บป่วย แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม  มี นำ้าเหลืองย่อมไหลปรี่กอบด้วยกลิ่นเหม็นเน่าร้ายดัง

                                                                                  [17]
           โรค ได้แก่                                  งูปูติมุกข์อันขบตอดคนทั้งหลาย...’’  ข้อความนี้ได้
                1.  กลุ่มโรคและอาการทางผิวหนัง  ที่ปรากฏ  กล่าวถึงลักษณะของอาโปธาตุพิการ คือ กระท�าให้มี
           ในจารึกทราบความหมาย ทั้งหมด 5 โรค รายละเอียด  แผลเปื่อย บางที่เป็นเม็ดคัน ทั่วร่างกาย ซึ่งเป็นอาการ

           ของโรคผิวหนังที่ปรากฏในจารึกค�าอธิฐานมีดังนี้  ของหิด คือ มีผื่นเม็ดเล็กขึ้นที่บริเวณร่างกายและคัน
                  1.1  หิด (scabies) เป็นโรคผิวหนังที่เกิด  จากลักษณะการเกิดพยาธิสภาพที่ผิวหนัง มีตุ่มและมี

           จากการติดเชื้อ ปรสิต พบได้ทั่วโลก ทุกเชื้อชาติพบ  อาการคัน เกา มีแผลและสะเก็ด นูน
           บ่อยในเด็ก โดยเฉพาะใน ชุมชนหรือสถานที่ที่อยู่     การรักษา ปรากฏพบการรักษาโรคหิด ในคัมภีร์
                            [16]
           อาศัยกันอย่างแออัด  เกิดจากตัวไร Sarcoptes   สรรพคุณยา ใช้สมุนไพร 2 ชนิด ที่มีสรรพคุณรักษา
           scabiei var hominis ซึ่งเป็นปรสิตที่ต้องอาศัยอยู่  หิด คือ 1.ต้นชุมเห็ดเทศ นั้นใบฆ่าพยาธิอันเดินตาม
           กับคน โดยอาศัยอยู่บนผิวหนัง ของคนและกินเซลล์  ผิวหนัง ดอกกระท�าให้ผิวหนังบริบูรณ์งามดีมีสีมีใย
           ผิวหนังเป็นอาหาร หิดตัวเมียจะไชลงไป ในผิวหนัง  ผลแก้พยาธิในท้องให้ท�าลายต้นแก้คชราชและเกลื้อน

           ชั้นหนังก�าพร้า (stratum corneum) ขุดเป็นอุโมงค์   กลากทั้งปวง รากแก้หิดแลสิวอันบังเกิดในผิวหนัง [17]
           (burrow) และวางไข่ ไข่จะใช้เวลาในการฟักตัว 2-3   และ2.ต้นพลูแก ใบ ดอก รากทั้ง 4 นี้ระคนกันต้มให้
           วัน กลายตัวอ่อน และเติบโตจนเป็นตัวเต็มวัยโดยใช้  กินแก้โรคเรื้อนใหญ่หรือน้อยแก้คชราช มะเร็ง กลาก

           เวลาทั้งหมด ประมาณ 2 สัปดาห์ สามารถติดต่อได้ง่าย  เกลื้อน หิด สิวอันบังเกิดขึ้นนั้นหาย  ในคัมภีร์วร
                                                                                   [17]
           โดยการสัมผัสใกล้ชิดกับคนที่เป็นโรค และยังสามารถ  โยคสาร ต�ารับยาแก้หิด คือ  แฝกหอม 1 ราชพฤกษ์

           ติดต่อได้โดยการใช้สิ่งของร่วมกัน อาการส�าคัญ คือ  1 จันทน์ 1 เมล็ดพรรณผักกาด 1 แห้วหมู 1สะเดา 1
           อาการคัน ซึ่งมักเป็นทั่วตัวเป็นมากตอนกลางคืน ซึ่ง  โมก 1 ชะเอม 1 สะตือ 1 เทียนสัตตบุษย์ 1 ยาหมู่นี้
           อาจรุนแรงจนรบกวนการนอน ผื่นผิวหนัง มีลักษณะ  แก้ฝีทั้งปวงแก้หิดทั้งปวง(17) และต�ารับยาในคัมภีร์
   153   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163