Page 154 - J Trad Med 21-1-2566
P. 154

134 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566



                         ผลก�รศึกษ�                    บรรทัด พบที่วัดศรีโคมค�า อ�าเภอเมือง จังหวัดพะเยา


                จากลักษณะเนื้อหาค�าศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับการ  เนื้อเรื่องกล่าวถึงสตรีชั้นสูงเจ้าศรัทธาผู้ประกอบบุญ
           เรียกชื่อโรคและอาการต่าง ๆ ที่ปรากฏในจารึกค�า  กุศลในพระพุทธศาสนา ได้อัญเชิญเทพในเทวปกรณัม
           อธิษฐาน ซึ่งเป็นชื่อโรคและอาการที่เจ้าศรัทธาไม่พึง  ของฮินดูมาเป็นสักขีพยาน และแสดงค�าอธิษฐาน ขอ

           ปรารถนาที่จะพบเจอในสมัยสุโขทัย ส่วนมากเป็นโรค  อุทิศส่วนกุศลแก่คนทั้งหลาย ขอให้ได้พบแต่ความ
           เกี่ยวกับผิวหนัง การมองเห็น และระบบกล้ามเนื้อและ  สุขอายุยืนปราศจากโรคภัยไข้เจ็บต่าง ๆ นอกจากนั้น
           กระดูก ซึ่งกลุ่มโรคและลักษณะอาการเจ็บป่วยเหล่านี้   ตัวนางเองปรารถนาได้บรรลุอรหัตตผล ไปเกิดที่แห่ง

           ถือว่าเป็นโรคที่รุนแรง อันตราย น่ากลัว ส่งผลต่อการ  ไหนขอให้เป็นผู้ดีมีรูปร่างและผิวพรรณงามดั่ง  นาง
           ใช้ชีวิตในสมัยนั้น จารึกค�าอธิษฐานจึงถือว่าเป็นจารึกที่  วิสาขา ขออย่าได้มีโรคพยาธิร้ายแรงต่าง ๆ เป็นต้น
           มีความส�าคัญยิ่งต่อประวัติศาสตร์การแพทย์แผนไทย      เนื้อหาในส่วนของเจ้าศรัทธาอธิษฐานผลบุญมี

           ในสมัยสุโขทัย ที่ได้กล่าวถึงชื่อโรคและอาการเจ็บป่วย
           ซึ่งชื่อโรคต่าง ๆ เหล่านั้นบางโรคยังปรากฏเรียกใน

           ปัจจุบันอยู่  ผลการศึกษา แบ่งเป็น 4 ประเด็น คือ
                1.  ลักษณะทั่วไปของศิลาจารึกค�าอธิษฐาน
                2.  โรคและอาการเจ็บป่วยที่ปรากฏในวรรณคดี

           สมัยสุโขทัย
                3.  การศึกษาเปรียบเทียบกับเอกสารชั้นหลัง

           และปัจจุบัน
                4.  ลักษณะของโรคและอาการที่ปรากฏในจารึก
           อธิษฐาน ซึ่งทั้ง 4 ประเด็น มีรายละเอียดดังต่อไป

           นี้

           1. ลักษณะทั่วไปของจ�รึกคำ�อธิษฐ�น


                จารึกค�าอธิษฐาน พย. 17 เป็นจารึกอักษรไทย
                                                             ภาพที่ 1  รูปจารึกคำาอธิษฐาน พย.17
           สุโขทัย ภาษาไทย อายุประมาณพุทธศตวรรษ ที่     ที่มา: ภาพถ่ายโดยผู้วิจัย เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2565
           20  ซึ่งในการประชุมกลุ่มสุโขทัยศึกษา-อยุธยาคดี
             [4]
           ศาสตราจารย์ ดร. ประเสริฐ ณ นคร ได้แสดงความ
           คิดเห็นว่า จารึกค�าอธิษฐานนี้ ไม่น่าจะมีอายุเก่าไป  อยู่ 2 ช่วง ที่ปรากฏชื่อโรคและลักษณะอาการดังนี้

                                 [6]
           กว่ากลางพุทธศตวรรษที่ 20  จารึกหลักนี้ลักษณะ     ช่วงที่ 1 ข้อความบรรทัด ที่ 6-10 ความว่า
           ขนาดกว้าง 41 เซนติเมตร สูง 103 เซนติเมตร หนา        6.  (บุ)ญอันกระท�านี้ได้ไปเถิงเขาทุกหมู่คู่คน
           13 เซนติเมตร หินทรายแดง จารึกอักษรจ�านวน 2   จุ่งได้ถ้วนโล

           ด้าน ด้านที่ 1 จ�านวน 37 บรรทัด ด้านที่ 2 จ�านวน 9        7.  กาติสุขได้ลาภจุ่งบาปเขาหายตาย จุ่งให้
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159