Page 155 - J Trad Med 21-1-2566
P. 155

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  135




            เขาไ-                                       ขัดสา
                   8.  (ป)เกิดเมืองฟ้าเมืองบนในตนเขาอยู่       15. พยาธิอันบ่ดีอันมีในต้นว่าไข้เจ็บเล็บ

            มลากอยู่ดีอย่า                              เหนื่อย
                   9.  ไข้เจ็บเล็บเหนื่อยเมลื่อยห้านคร้านอิด       16. (เมลื่อย)ห้านคร้านอิดเป็นหิดเป็นฝีอันบ่
            เป็นหิดเป็น [ฝีดัง?]                        ดีกล่าวฝ้าตา

                   10.  [อั้]นะะด้วยผลบุญอันกูปรารถนานิโสด [4]       17. ___________ แลแก้ถ้วนสิ่งอันร้ายยิ่ง
                 ชื่ออาการเจ็บป่วยที่ปรากฏในบริบทนี้ คือ การ   กว่าว่าฝีบ่
            กล่าวอาการเจ็บป่วยโดยรวม คือ “ไข้เจ็บเล็บเหนื่อย       18. _________ [ฝี]เต่งฝีมะเร็งลําโหด(พ)

            เมลื่อยห้านคร้านอิด’’ เป็นส�านวนหมายถึงอาการ   วกไผอยา [4]
                    [7]
            เหมื่อยล้า  กล่าวถึงชื่อโรค คือ หิดและฝี         จากข้อความ บรรทัด ที่ 11-18 สรุปได้ว่า เจ้า
                 ช่วงที่ 2 ข้อความบรรทัด ที่ 11-18 ความว่า  ศรัทธาได้อธิษฐานว่า ไม่ว่าจะไปเกิดที่ใดขอให้เป็นผู้ดี

                   11.  จักเกิดแห่งใดแห่งใดก็ดีขอจุ่งให้กูเป็น   มีร่างกายและผิวพรรณงดงาม อย่าได้มีพยาธิ (โรค)
            ผู้ดีมีสรี [ระงา-]                          อันไม่ดี ข้อความช่วงที่ 2 นี้ยังพบข้อความว่า “ไข้เจ็บ

                   12.  [ม](ม)ลากงามหนักหนาเป็นคนก็ดีจุ่ง  เล็บเหนื่อยเมลื่อยห้านคร้านอิด’’ และ “เป็นหิดเป็น
            อย่าให้รู้ว่า . . .                         ฝี’’ เช่นเดียวกับข้อความช่วงที่ 1 นอกจากนี้ในบรรทัด
                   13.  (ง)ามดั่งนางพิสาขาตราบไป ได้แก่    ที่ 16-18 กล่าวถึงอาการและชื่อโรคอื่น ๆ อีก เช่น ฝ้า

            อรหัตตผลมีอา-                               ตา (ฝี)เต่ง ฝีมะเร็ง ล�าโหด เป็นต้น
                   14. ตมสนิทอันอ่อนเกลี้ยงดั่งผิวค�าอันท่าน













            ภาพที่ 2  แสดงลักษณะตัวอักษรของจารึกคำาอธิษฐาน บรรทัดที่ 15-18
                    ที่มา: สืบค้นจาก https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/image_detail/25730 เมื่อวันที่ 29 มีนาคม
                    2565


            2. โรคและอ�ก�รเจ็บป่วยที่ปร�กฏในวรรณคดี     เกลื้อนแลกลาก หูดแลเปา เป็นต่อมเป็นเต้า เป็นง่อย

               สมัยสุโขทัย                              เป็นเพลีย ตาฟูหูหนวก เป็นกะจอกงอกง่อย เปือยเนื้อ

                 ในวรรณคดีสมัยสุโขทัยเรื่องไตรภูมิกถา พระ  เมื่อยตน ท้องขึ้นท้องพอง เจ็บท้องต้องไส้ ปวดหัวมัว
                                                                           [3]
            ราชนิพนธ์พระยาลิไทย ปรากฏชื่อโรคและอาการที่ไม่  ตา ไข้เจ็บเหน็บเหนื่อย...’’  ค�าว่า “หูดแลเปา’’  หมาย
                                                                                            [9]
                                                                                   [8]
            ปรากฏในชาวอุตรกุรุทวีป ความว่า “...เป็นหิดแลเรื้อน  ถึง อาการหลังโกง เนื้องอก ก้อนเนื้อ  ปุ่ม ปม โน ใน
   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160