Page 156 - J Trad Med 21-1-2566
P. 156

136 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566




           บริบทนี้น่าจะเป็นอาการเนื้องอก หรือก้อนเนื้อที่มีปุ่ม  หรือผิดรูปจากปกติ และล�าดับต่อมาคือ อาการเกี่ยว
           ปม เป็นก้อนลักษณะคล้ายกับหูด  ค�าว่า “เป็นต่อมเป็น  กับระบบทางเดินอาหารหรือในช่องท้อง มี 2 อาการ

                                               [9]
           เต้า’’ คือ ต่อม ตุ่ม จุดเม็ด สิ่งที่นูนขึ้นเล็กน้อย  ใน  คือ (1) ท้องขึ้นท้องพอง (2) เจ็บท้องต้องไส้ ซึ่งเป็น
           บริบทนี้น่าจะเป็นค�าขยายอธิบายลักษณะของหูดและ  อาการทางเดินอาหาร แต่ค�าว่า “ท้องขึ้นท้องพอง’’
           เปา ว่าเป็นตุ่มเล็กบริเวณผิวหนัง และมีส�านวนว่า เป็น  ปัจจุบัน ใช้เรียกผลไม้บางอย่างที่ช�้าจวนจะเสีย เช่น

                                                                         [12]
           หูดเป็นเปา หมายถึง ผิวตะปุ่มตะป�่า ส่วนพจนานุกรม  กล้วยท้องขึ้นท้องพอง  คือกล้วยที่ช�้าจวนจะเสีย
           โบราณศัพท์ ฉบับราชบัณฑิตยสภา ให้ความหมายว่า    ส่วนอาการฝ้าตา ตาฟูหูหนวก ผู้วิจัยสันนิษฐานว่า
           เม็ดเล็ก ๆ ก้อนกลมเล็ก ๆ  ค�าว่า “ง่อย’’ หมายถึง  เป็นค�าที่กล่าวถึงลักษณะความผิดปกติของดวงตา
                                [10]
           อาการแขนหรือขาพิการเคลื่อนไหวไม่ได้อย่างปกติ    ที่ส่งผลต่อการมองเห็นหรือตาบอด หรือที่เรียกว่า
           ล้านนาใช้ง่วย โง่ย, หง่อย หรือเป็นเปลี้ย ดังนั้น เป็น  “ตาฟู’’ และลักษณะของหูที่ไม่ได้ยินเสียง หรือที่เรียก
                                         [10]
           ง่อยเป็นเพลี้ย(เปลี้ย) เป็นค�าซ้อน ส่วนค�าว่า “กระจอก  ว่า “หูหนวก’’

           งอกง่อย’’ เป็นค�าที่เกิดจากค�าว่า กระจอก งอก และ
           ง่อย ค�าว่ากระจอก เป็นค�าที่ใกล้เคียงกับค�าเขมรว่า    3. ก�รศึกษ�เปรียบเทียบกับเอกส�รชั้นหลัง

           ขฺจก  (อ่านว่า ขะ -จอก) แปลว่า ขาพิการ คนขจอก ก็  และปัจจุบัน
           คือ คนพิการ  เดินไม่ถนัดหรือเดินไม่ได้  มีความหมาย     จากเอกสารใบลานของล้านนาเรื่องการถือน�้าสัจ
           ตรงกับค�าว่า ง่อย ส่วนค�าว่า งอก เติมเข้ามาเพื่อให้เป็น  จา (การถือน�้าสาบาน) ของเจ้าเมืองตอนบน (เชียงแสน

           ค�า 4 พยางค์ ที่มีเสียงสัมผัส [11]          เมืองวะ เมืองยอง เมืองหลวย เมืองกาย เมืองลวง
                จากข้อความการเรียกชื่อโรคในไตรภูมิกถา   เมืองเชียงรุ้ง เมืองหุน) พ.ศ. 2354  ปรากฏชื่อโรค

           มีลักษณะใช้ค�าที่มีเสียงสัมผัสสระ และการใช้ค�า  บางโรคเหมือนกับชื่อโรคและอาการจารึกค�าอธิษฐาน
           ซ้อน ในการเรียกชื่อโรคและอาการที่เหมือนกันกับ  และในไตรภูมิกถา ความว่า “...หื้อเป็นอั่งเป็นอ้ะ เป็น
           จารึกค�าอธิษฐาน เช่น ในไตรภูมิกถาใช้ค�าว่า “ไข้เจ็บ  หูดเป็นเปา เป็นมองเป็นทุย ตาบอดหูหนวก เป็นคน

           เหน็ดเหนื่อย’’ แต่ในจารึกค�าอธิษฐานใช้ค�าว่า “ไข้เจ็บ  ทลิททะอันถ่อยร้าย...พยาธิ 96 จำาพวก ก็หื้อเถิงแก่
           เล็บเหนื่อย’’ เป็นต้น และโรคที่กล่าวถึงมากที่สุดที่  ผู้ข้าทั้งหลายชุผู้ชุคนแล  ข้อความดังกล่าว ได้ระบุ
                                                                         [13]
           ปรากฏหลักฐานชั้นปฐมภูมิในสมัยสุโขทัย จากจารึก  ถึงลักษณะโรค หูดแล เปา ซึ่งเป็นโรคผิวหนังเนื้อ

           ค�าอธิษฐานและวรรณกรรมไตรภูมิกถานั้นคือโรค   ตัวเป็นตะปุ่มตะป�่า อาจมองว่าเป็นโรคที่น่ารังเกียจ
           ผิวหนัง จ�านวน 9 โรค  คือ (1) หิด (2) เรื้อน (3) เกลื้อน   เพราะมีพยาธิสภาพที่ผิวหนังร่างกาย อ้ะ หมายถึง
                                                           [9]
                                                                        [13]
           (4) หูด (5) เปา (6) ฝี (7) ฝีเต่ง/ฝีติ่ง (8) ฝีมะเร็ง (9)   คนใบ้  คนพูดติดอ่าง  มอง หมายถึง คนที่มีจิตใจ
           ล�าโหด ซึ่งโรคเหล่านีมีพยาธิสภาพที่ผิวหนัง มีอาการ  ตรงข้ามกับเพศของตน(9) ทุย หมายถึง กระเทย คน
                                                                    [9]
           คัน หากอักเสบจะมีอาการแสบร้อน เกิดแผลเปื่อย  ครึ่งหญิงครึ่งชาย  คนทลิททะ หมายถึง คนยากจน
           เน่าได้ รองลงมาคือ โรคระบบกล้ามเนื้อและกระดูก   เข็ญใจ  และ อาการ”ตาบอดหูหนวก’’ ซึ่งปรากฏใน
                                                            [13]
           พบจ�านวน 3 อาการ คือ  (1) ง่อย (2) กระจอก (3) ห้า  ไตรภูมิกถา ว่า “ตาฟูหูหนวก’’ ในจารึกค�าอธิษฐาน
           น ซึ่งเป็นอาการผิดปกติของร่างกายแขนขา อ่อนแรง  ว่า “ฝ้าตา’’  สันนิษฐานว่าเป็นลักษณะอาการโรคของ
   151   152   153   154   155   156   157   158   159   160   161