Page 153 - J Trad Med 21-1-2566
P. 153

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 21  No. 1  Jan-Apr  2023  133




            ได้บันทึกวัฒนธรรมและอารยธรรมของชนชาติที่    วิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) เป็นการน�า
                                         [4]
            สั่งสมในอดีตแต่ละยุค สมัยมาช้านาน  มีจารึกที่ไม่  ข้อมูลชื่อโรคและอาการที่ปรากฏในจารึกค�าอธิษฐาน
            ปรากฏศักราชหลักหนึ่งซึ่งหนังสือประชุมจารึก ภาคที่   ซึ่งเป็นจารึกสมัยสุโขทัย น�ามาวิเคราะห์ซึ่งเรียกวิธี
            8 จารึกสุโขทัย ได้ก�าหนดให้เป็นจารึกในสมัยสุโขทัย    วิจัย ลักษณะนี้ว่า “การวิจัยเอกสาร’’ (documentary
            โดยก�าหนดจากรูปแบบอักษรที่เป็นรูปแบบอักษร   research)  ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมในกลุ่มมนุษยศาสตร์

                         [5]
            ไทยสมัยสุโขทัย  คือ จารึกค�าอธิษฐาน จารึกหลักนี้  ภาษา วรรณกรรม ประวัติศาสตร์ มีขั้นตอนดังนี้
            ถือเป็นจารึกที่ปรากฏชื่อโรคที่เก่าที่สุดของไทยด้วย     1.  ผู้วิจัยสืบค้นข้อมูลจากหนังสือประชุมจารึก
            ไม่เคยพบในจารึกภาษาไทยในสมัยสุโขทัยมาก่อน มี  ภาคที่ 8 จารึกสุโขทัย ซึ่งจัดท�าโดยคณะกรรมการ

            ข้อความกล่าวถึงลักษณะโรคและอาการเจ็บป่วยที่เกิด  อ�านวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ
            จากความผิดปกติของร่างกาย เช่น ห้าน อิด ฝี มะเร็ง   พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในโอกาสที่วันพระบรมราช
            ล�าโหด หิด ฝ้าตา เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันนี้ยังพบการเรียก  สมภพครบ 200 ปี  ในการสืบค้นได้พบจารึกที่มีข้อมูล

            ชื่อโรคและอาการเหล่านั้นอยู่ จารึกค�าอธิษฐานจึงเป็น  กลุ่มโรคและอาการที่ปรากฏ จ�านวน 1 หลัก คือ จารึก
            หลักฐานส�าคัญที่แสดงถึงประวัติศาสตร์ทางด้านการ  ค�าอธิษฐาน (พย. 17)

            แพทย์ การรักษาพยาบาลในสมัยสุโขทัยที่น่าสนใจ      2.  ผู้วิจัยใช้ส�าเนาภาพถ่าย จากเว็บไซต์ ฐาน
            ศึกษาเป็นอย่างยิ่ง เพราะการเรียกชื่อโรคและลักษณะ  ข้อมูลจารึกในประเทศไทย (ศูนย์มนุษยวิทยาสิรินธร
            อาการต่าง ๆ นั้น ยังปรากฏในจารึกต�ารายาคัมภีร์  องค์การมหาชน) เพื่อดูลักษณะสันฐานและลักษณะ

            การแพทย์แผนไทยและเอกสารโบราณต�ารายาพื้น     ตัวอักษรที่จารึก
            บ้านล้านนาและอีสาน จึงเป็นที่น่าสนใจที่จะศึกษาถึง     3.  ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับโรคและอาการที่

            ลักษณะของโรคและอาการเจ็บป่วยที่ปรากฏในจารึก  ปรากฏในจารึกค�าอธิษฐานกับวรรณกรรมสมัยสุโขทัย
            ค�าอธิษฐานรวมถึงคติความเชื่อเรื่องโรคและอาการ  เรื่องไตรภูมิกถา โดยใช้หนังสือไตรภูมิกถา ฉบับ
            เจ็บป่วยในสมัยนั้น ซึ่งบางโรคมีความรุนแรงส่งผล  ราชบัณฑิตยสถาน โดยน�ามาศึกษาวิเคราะห์เปรียบ

            ต่อร่างกายหลายระบบ อาจเหลือรอยโรค สร้างแผล  เทียบข้อมูล ลักษณะเนื้อหา ค�าศัพท์ที่เกี่ยวกับการ
            เป็น ส่งผลต่อความผิดปกติของอวัยวะในร่างกาย อาจ  เรียกชื่อโรคและอาการ
            น�าไปสู่ความพิการ สร้างปัญหาและอุปสรรคในการ      4.  วิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับโรคและอาการที่

            ด�าเนินชีวิต บางโรคเป็นโรคติดต่อ สร้างความหวาด  ปรากฏในจารึกค�าอธิษฐาน กับหลักฐานการแพทย์
            กลัวต่อผู้คนในสังคม                         แผนไทยต่าง ๆ เช่น ต�าราพระโอสถครั้งรัชกาลที่ 2
                 การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาลักษณะ  ศิลาจารึกต�ารายาวัดราชโอรสาราม  ศิลาจารึกต�ารา

            ของโรคและอาการที่ปรากฏในจารึกค�าอธิษฐาน     ยาวัดพระเชตุพนวิมลมังคราราม  คัมภีร์ทางการ
                                                        แพทย์แผนไทย  ต�ารายาพื้นบ้านล้านนาและอีสาน
                        ระเบียบวิธีศึกษ�                ถึงลักษณะของโรคและวิธีการรักษา และเอกสารทาง


                 การศึกษาวิเคราะห์ลักษณะโรคและอาการเจ็บ  ราชการโบราณ เกี่ยวกับค�าสัจจะถือน�าสาบานกฎหมาย
            ป่วยในจารึกสุโขทัย: จารึกค�าอธิษฐาน ใช้หลักการ  มังรายศาสตร์ที่กล่าวถึงโรคและอาการเจ็บป่วย
   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158