Page 152 - J Trad Med 21-1-2566
P. 152

132 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 21  ฉบับที่ 1  มกราคม-เมษายน 2566





              An Analyical Study of Disease and Illness in Inscriptions of
              Sukhothai Kingdom: The Kham-athitthan (Prayer) Inscription

              Kumpon Malapim , Kangvol Khatshima
                             *
              Queen Sirikit’s Health Center Kubua, Khu Bua Sub-district, Mueang Ratchaburi District, Ratchaburi 70000, Thailand
              Department of Oriental Languages, Faculty of Archaeology, Silpakorn University, Phra Nakhon District, Bangkok
              10200, Thailand.
              * Corresponding author:  paleosamlly@gmail.com


                                                Abstract
                   TheKham-athitthan (prayer) stone inscription on Thai traditional medicine was made in the Sukhothai period,
              around the 20th Buddhist century. The purpose of this article is to study the nature of the diseases and illnesses
              or symptoms that appear in the inscription. The results show that, in the Kham-athitthan inscription, there were
              three disease and symptom groups: (1) diseases and symptoms of the skin, including scabies, abscess, fi-teng (ripe
              abscess), fi-mareng (cancer abscess), and lam-hod; (2) diseases and symptoms of the muscles and bones, such as
              hahn (emaciation) or lameness; and (3) diseases and symptoms of the eye such as blurry vision. All such diseases
              or illnesses occur in the skin, structural and visual systems, which are serious and scary among the people in soci-
              ety. Some of them may be contagious, such as scabies; and some take a long time to heal, such as cancer abscess
              and lam-hod, resulting in scars or lesions on the skin. Serious symptoms can lead to disability of the organs and
              disruptions of the people’s way of life and social activities; so they do not want to get sick with such illnesses.
                   Key words:  Sukhothai inscription, Kham-athitthan inscription, Thai traditional medicine; disease charac-
                            teristics and symptoms






                    บทนำ�และวัตถุประสงค์                      “...เป็นหิดแล เรื้อน เกลื้อน แลหูด แลเปา

                อาณาจักรสุโขทัยมีอายุอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษ   เป็นต่อม เป็นเตาเป็นง่อยเป็นเพลีย ตาฟู หู
           ที่ 18-20 ถือว่าเป็นอาณาจักรของคนไทยมีความเจริญ  หนวก เป็นกระจอกงอกง่อย เปื่อยเนื้อ เมื่อยตน
           รุ่งเรืองในทุก ๆ ด้านเป็นรัฐในอุดมคติเนื่องจากเป็น  ท้องขึ้น ท้องพอง เจ็บท้องต้องไส้ ปวดหัวมัวตา

           รัฐที่มีความสงบสุข ผู้ปกครองมีความเมตตาเหมือน   ไข้เจ็บ เหน็ดเหนื่อย วิการดังนี้ ไซร้บ่ห่อน จะ
                         [1]
                                                                                          [3]
           บิดาปกครองบุตร  แต่ข้อมูลทางด้านการแพทย์และ     บังเกิดแก่ชาวอุตรกุรุ สักคาบหนึ่งเลย...’’
           การพยาบาลในสมัยสุโขทัยมีค่อนข้างน้อย โดยส่วน     ลักษณะโรคและอาการความเจ็บป่วยเหล่านี้
           มากประวัติการแพทย์แผนไทยสมัยสุโขทัยมักกล่าว  สะท้อนให้เห็นถึงการรับรู้เกี่ยวกับการเรียกชื่อโรคและ
           ถึงชื่อโรคภัยไข้เจ็บที่ปรากฏในสมัยนั้นดังมีข้อความ  อาการของผู้คนในสังคมสมัยโบราณ ส่วนหลักฐาน

           ตอนหนึ่งกล่าวไว้ในไตรภูมิกถาหรือไตรภูมิพระร่วง  ทางด้านจารึก ซึ่งเป็นเอกสารชั้นต้นที่มีความส�าคัญ
           ซึ่งเป็นวรรณคดีทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยที่  อย่างยิ่งต่อการศึกษาค้นคว้าทางด้านโบราณคดี
           ทรงคุณค่าอย่างยิ่งเล่มหนึ่งของไทย  ความว่า   ประวัติศาสตร์ อักษรศาสตร์ และภาษาศาสตร์ เพราะ
                                      [2]
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157