Page 61 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 61
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 3 Sep-Dec 2022 475
(flow rate) เป็น 1.0 มิลลิลิตร/นาที ใช้ UV-Visible ผลกำรศึกษำ
detector ตรวจวัดสารที่ 425 นาโนเมตร โดยฉีดสาร 1. ผลกำรวิเครำะห์หำปริมำณสำรส�ำคัญของ
สารละลายตัวอย่างความเข้มข้น 1,000 ไมโครกรัม/ สำรสกัดขมิ้นชันด้วยวิธีโครมำโทกรำฟี
มิลลิลิตร ปริมาตร 10 ไมโครลิตร บันทึก HPLC ของเหลวสมรรถนะสูง
chromatogram และวิเคราะห์หาปริมาณสาร สารสกัดขมิ้นชันที่สกัดด้วยวิธีการแช่สกัดด้วย
เคอร์คิวมินอยด์ เอทานอลความเข้มข้นร้อยละ 95 จากการทดลองพบ
2.4.7 การวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ (statisti- ว่าการสกัดดังกล่าวมีร้อยละผลที่ได้ของสารสกัดขมิ้นชัน
cal analysis) (%yield) เท่ากับ 20.81 ± 1.88 เมื่อวิเคราะห์ด้วยวิธี
การวิเคราะห์ปริมาณสารส�าคัญ การตั้ง HPLC พบว่าในสารสกัดประกอบด้วยสารส�าคัญใน
ต�ารับเจล และทดสอบคุณสมบัติทางกายภาพและ กลุ่มเคอร์คิวมินอยด์ทั้ง 3 ชนิด ได้แก่ curcumin,
ทางเคมี รวมทั้งการตรวจสอบความคงตัวของต�ารับ demethoxycurcumin และ bisdemethoxycur-
เจลท�าซ�้าทั้งหมด 3 ครั้ง ข้อมูลแสดงเป็นค่าเฉลี่ย ± cumin โดยพบความเข้มข้นสารมาตรฐานในกลุ่ม
ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างก่อน เคอร์คิวมินอยด์ร้อยละ 17.497 ± 1.638 โดยน�้าหนัก
และหลังการศึกษาความคงสภาพของเจลในสภาวะ มีปริมาณ curcumin ร้อยละ 6.172 ± 0.838 โดย
เร่งด้วย heating-cooling test ด้วยสถิติ paired น�้าหนักdemethoxycurcumin ร้อยละ 3.755 ±
sample t-test ส�าหรับค่า pH และความหนืดของ 0.413 โดยน�้าหนัก และ bisdemethoxycurcumin
เจลสารสกัดขมิ้นชัน ร้อยละ 7.570 ± 0.403 โดยน�้าหนัก แสดงตัวอย่าง
HPLC chromatogram ของสารสกัด (ภาพที่ 1)
ภาพที่ 1 HPLC chromatogram ของส�รสกัดเอท�นอลขมิ้นชัน