Page 64 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 64
478 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
7. กำรหำปริมำณสำรส�ำคัญในต�ำรับเจล F1 การศึกษานี้สนใจวิเคราะห์ปริมาณเคอร์คิวมินอยด์
ด้วยวิธีโครมำโทกรำฟีของเหลวสมรรถนะสูง ในสารสกัดขมิ้นชัน เนื่องจากเป็นสารออกฤทธิ์ที่
ต�ารับเจลประกอบด้วยปริมาณสารเคอร์คิว- ส�าคัญในการต้านอนุมูลอิสระที่โดดเด่นในขมิ้นชัน
มินอยด์ร้อยละ 0.150 ± 0.004 โดยน�้าหนักประกอบ ซึ่งสารในกลุ่มเคอร์คิวมินอยด์ทั้ง 3 ชนิดมีลักษณะ
ด้วย curcumin, demethoxycurcumin bisde- ของโครงสร้างที่เป็นหมู่พอลิฟีนอล (polyphenol
methoxycurcumin ร้อยละ 0.074 ± 0.001, 0.001 groups) หมู่ไฮดรอกซี (hydroxyl groups) และ
± 0.000 และ 0.072 ± 0.001 โดยน�้าหนัก ตามล�าดับ พันธะไฮโดรเจนซึ่งสามารถจ่ายออกได้ท�าให้สามารถ
(ภาพที่ 3) ก�าจัดอนุมูลอิสระ และลักษณะของโมเลกุลของเคอร์-
คิวมินอยด์ซึ่งมีหมู่คีโตน 2 ต�าแหน่ง ซึ่งมีลักษณะเป็น
อภิปรำยผล รูปแบบไดคีโต-อีนอล (diketo and enol forms) ส่ง
การที่ขมิ้นชันเป็นพืชสมุนไพรไทยที่มีความ ผลให้สามารถก�าจัดอนุมูลอิสระได้เช่นกัน และจาก
โดดเด่นในการต้านอนุมูลอิสระและใช้รักษาโรคที่ พันธะไฮโดรเจนระหว่างโมเลกุล (intermolecular
เกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบ โรคปริทันต์รวมถึง hydrogen bonds) ส่งผลต่อการก�าจัด reactive
[28]
โรคเหงือกอักเสบเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ oxygen species ทั้งนี้การศึกษานี้ได้เห็นประโยชน์
อักเสบของอวัยวะที่รองรับฟัน ส่วนประกอบที่ส�าคัญ ส�าคัญของการใช้สารสกัดหยาบขมิ้นชันหรือสารสกัด
ในการต้านการอักเสบของขมิ้นชันประกอบด้วยเคอร์- ขมิ้นชันวิธีการแช่สกัดด้วยเอทานอล เนื่องด้วยสาร
คิวมินอยด์ และน�้ามันหอมระเหย การศึกษานี้ได้ สกัดขมิ้นชันดังกล่าวประกอบด้วยสารออกฤทธิ์ทาง
[9]
วิเคราะห์ปริมาณสารส�าคัญในกลุ่มเคอร์คิวมินอยด์ ชีวภาพในกลุ่มเคอร์คิวมินอยด์และน�้ามันหอมระเหย
ของสารสกัดขมิ้นชันด้วยเอทานอล โดยขมิ้นชันที่ใช้ ที่ให้ผลลัพธ์ในด้านการรักษาและการป้องกันทาง
ในการสกัดและตั้งต�ารับเจลนั้นมีแหล่งเพาะปลูกใน คลินิก ซึ่งแตกต่างจากการใช้เคอร์คิวมินบริสุทธิ์
[29]
ประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่าสารสกัดขมิ้นชันที่ เนื่องจากสารสกัดหยาบมีส่วนประกอบของน�้ามันหอม
ใช้ประกอบไปด้วยเคอร์คิวมินอยด์ร้อยละ 16.582 ± ระเหยซึ่งมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระและต้าน
0.570 โดยน�้าหนัก ประกอบด้วย curcumin, deme- การอักเสบร่วมด้วย [30-31] นอกจากนี้กรรมวิธีในการ
thoxycurcumin และ bisdemethoxycurcumin สกัดสารส�าคัญจากขมิ้นชันด้วยวิธีการแช่สกัดด้วย
ร้อยละ 5.694 ± 0.181, 3.521 ± 0.107, 7.368 ± 0.282 เอทานอลไม่ซับซ้อนและราคาไม่สูงเมื่อเทียบกับการ
โดยน�้าหนักตามล�าดับ ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ ใช้สารบริสุทธิ์ และการศึกษาของ Hayat S. และ
Pothitirat W. และ Gritsanapan W. ในปี 2008 Sabri A.N. (2016) พบว่าการสกัดขมิ้นชันด้วย
ซึ่งได้วิเคราะห์ปริมาณเคอร์คิวมินอยด์ในขมิ้นชัน เอทานอลนั้นให้สารต้านอนุมูลอิสระกลุ่มฟีนอลิก
ในแหล่งเพาะปลูกประเทศไทยด้วยวิธี HPLC พบ (phenolic compound) ได้สูง [32]
ว่าขมิ้นชันที่สกัดด้วยเอทานอลมีปริมาณเคอร์คิว- ในขั้นตอนการพัฒนาต�ารับเจลสารสกัดขมิ้น
มินอยด์ไม่ควรต�่ากว่าร้อยละ 16 โดยพบอยู่ในช่วง ชันได้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาสูตรต�ารับเจล เพื่อน�า
ร้อยละ 14.14 ± 0.87 ถึง 26.76 ± 0.17 โดยน�้าหนัก [27] ส่งสารสกัดขมิ้นชันซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์จากสมุนไพร