Page 58 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 58

472 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           อยู่ภายใน โดยเจลนิยมใช้ในผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อ  ท�าละลาย methanol (99.8%) HPLC grade ยี่ห้อ
           เพิ่มความหนืดและการยึดเกาะต่อเนื้อเยื่อ คุณสมบัติ  Fisher Chemical, ตัวท�าละลาย formic acid

           ของเจลที่ดี ประกอบด้วย การมีลักษณะภายนอกที่   (90.0%) HPLC grade ยี่ห้อ KemAus, สารก่อ
           เหมาะสม เช่น ความหนืด สี กลิ่น ความรู้สึกสัมผัส   เจล carbopol 934P NF ยี่ห้อ Lubrizol, ethanol
           ความเป็นที่พอใจของผู้ใช้ มีความเข้ากันได้กับทุก  95 % ยี่ห้อ L Pure (food grade), polyethylene gly-

           ส่วนประกอบของต�ารับ มีความคงตัวทั้งทางด้านเคมี   col–400 (food grade), butylated hydroxy toluene
                           [22]
           ชีวภาพและกายภาพ  ดังนั้นการพัฒนาขมิ้นชันใน  (food grade), glycerin (food grade), cremophor
           รูปแบบของเจลเพื่อการรักษาโรคปริทันต์มีข้อดีในด้าน  RH#40 (food grade), ethylparaben (food grade),

           ท�าให้สารออกฤทธิ์ของขมิ้นชันอยู่ในรูปแบบของเจล  tri-ethanol amine (pharmaceutical grade)
           ที่ใช้ในช่องปาก ท�าให้มีการยึดติดของสารออกฤทธิ์ที่
           เนื้อเยื่อและสามารถคงสภาพที่เนื้อเยื่อได้ยาวนานมาก  2. วิธีกำรศึกษำ

           ขึ้น เพื่อปลดปล่อยสารส�าคัญ ซึ่งการใช้เจลเฉพาะที่      2.1  การเตรียมสารสกัดหยาบจากขมิ้นชัน
           มีข้อดีในด้านการลดปริมาณการบริโภค ลดการ         น�าผงขมิ้นชัน (บริษัทเวชพงศ์โอสถ จ�ากัด

           เมตาบอลิซึมจากตับและระบบทางเดินอาหารและ     ประเทศไทย) สกัดด้วยการแช่สกัดกับตัวท�าละลาย
           เพิ่มชีวประสิทธิผลฤทธิ์เฉพาะที่ ใช้ปริมาณยาต�่าลง   เอทานอลร้อยละ 95 เป็นเวลา 3 วัน ในอัตราส่วน
           หลีกเลี่ยงการไหลลงคอ หรือการสัมผัสและระคายเคือง   ระหว่างของแข็งต่อของเหลว 1 ต่อ 10 หลังจากนั้น

           ต่อเนื้อเยื่อระบบทางเดินอาหาร [23]          กรองจะได้สารสกัดที่ละลายในเอทานอล และกาก
                การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสูตร   ของขมิ้นชัน จากนั้นน�ากากมาสกัดซ�้าอีก 2 รอบ น�า

           ต�ารับเจลจากสารสกัดขมิ้นชันเพื่อใช้ในช่องปากเฉพาะ  สารสกัดที่สกัดได้ทั้ง 3 รอบ ระเหยตัวท�าละลายด้วย
           ที่ส�าหรับการรักษาโรคปริทันต์ เพื่อให้มีคุณสมบัติทาง  เครื่องกลั่นระเหยสารแบบหมุน (rotary evaporator)
           กายภาพ คุณสมบัติทางเคมี เหมาะสมกับการใช้ในช่อง  ที่อุณหภูมิ 40˚ซ. จนได้สารสกัดประเภทกึ่งของแข็งสี

           ปากและมีความคงตัวของผลิตภัณฑ์ที่ดี          ส้มน�้าตาล เก็บสารสกัดที่อุณหภูมิ 4˚ซ.
                                                           2.2  การวิเคราะห์หาปริมาณสารเคอร์คิวมินอยด์
                       ระเบียบวิธีศึกษำ                ด้วยวิธีโครมาโทกราฟีของเหลวสมรรถนะสูง (High-

                                                       Performance Liquid Chromatography, HPLC)
           1. วัสดุ                                        วิเคราะห์หาปริมาณสารเคอร์คิวมินอยด์ทั้ง 3

                1.1  สารเคมี                           ชนิดโดยการเตรียมสารละลายมาตรฐาน curcumin,

                สารมาตรฐาน curcumin (99.6%), deme-     demethoxycurcumin และ bisdemethoxyc-
           thoxycurcumin (98.3%), bisdemethoxycur-     urcumin ให้มีความเข้มข้น 1,000 ไมโครกรัมต่อ

           cumin (95.9%), analytical grade ยี่ห้อ Sigma   มิลลิลิตร (µg/mL) หลังจากนั้นเจือจางด้วยเมทานอล
           Aldrich, ตัวท�าละลาย acetonitrile (99.9%) HPLC   ให้มีความเข้มข้นเป็น 1, 5, 10, 15, 20, 30, 40, 50
           grade ยี่ห้อ Honeywell Burdick & Jackson, ตัว  ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร ตามล�าดับ ผสมสารละลายทั้ง
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63