Page 66 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 66

480 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           tococcus gordonii และ Porphyromonas gingi-                  ข้อสรุป
           valis ได้มากกว่าร้อยละ 80 ทั้งยังพบว่าเคอร์คิวมินมี     จากการศึกษานี้ได้พัฒนาต�ารับเจลสารสกัด

           ประสิทธิผลในการต้านแบคทีเรียก่อโรคปริทันต์โดย  เอทานอลขมิ้นชันความเข้มข้นร้อยละ 1 โดยมีสารก่อ
           ใช้ความเข้มข้นต�่าเพียง 12 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร [41]  เจลเป็น carbopol 934P ความเข้มข้นร้อยละ 1 ต�ารับเจล
           การศึกษาของ Jalaluddin M. และคณะ (2019) ใน  สารสกัดขมิ้นชันที่พัฒนาขึ้นมีลักษณะทางกายภาพ

           การเตรียมสารสกัดขมิ้นชันเข้มข้นร้อยละ 1 ที่ละลาย  และทางเคมีที่เหมาะสม และประกอบด้วยสารกลุ่ม
           ในเอทานอลและกลีเซอรอล ฉีดล้างร่องปริทันต์ที่ลึก  เคอร์คิวมินอยด์ ซึ่งเป็นสารส�าคัญและต�ารับเจลมี

           มากกว่า 5 มิลลิเมตร ณ วันที่เกลารากฟัน หลังจาก  ความคงตัวที่ดีในการศึกษาในสภาพเร่ง
           เกลารากฟัน 7 และ 14 วัน พบว่าสามารถลดดัชนี
           คราบจุลินทรีย์ ดัชนีเหงือกอักเสบ และลดเชื้อก่อโรค      กิตติกรรมประกำศ

           ปริทันต์ ไม่แตกต่างกับคลอร์เฮกซิดีน (chlorhexi-     การศึกษานี้ได้รับทุนสนับสนุนจากทุนวิจัย
           dine) เข้มข้นร้อยละ 0.2 และไม่พบผลข้างเคียง   งบประมาณเงินรายได้โรงพยาบาลทันตกรรม คณะ

               [40]
           ใด ๆ   นอกจากนี้การศึกษาของ Kandwal A,      ทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
           Mamgain R.K. และ Mamgain P. (2015) ได้เปรียบ  ประจ�าปีงบประมาณ 2564 ขอขอบคุณคณาจารย์
           เทียบการใช้เจลสารสกัดขมิ้นชันเข้มข้นร้อยละ 1 และ  หลักสูตรวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิตสาขาทันตกรรม

           เจลคลอร์เฮกซิดีน เข้มข้นร้อยละ 2 ภายหลังการขูด  คลินิก และขอขอบคุณอาจารย์และเจ้าหน้าที่สถาบัน
           หินน�้าลายเกลารากฟัน พบว่าทั้งสองกลุ่มมีลักษณะ  ค้นคว้าและพัฒนาผลิตผลทางการเกษตรและ
           ทางคลินิกที่ดีขึ้นร่วมกับลดปริมาณคราบจุลินทรีย์   อุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่

           กลุ่มที่ใช้เจลสารสกัดขมิ้นชันมีผลลัพธ์ที่ดีในแง่ของ  กรุณาเอื้อเฟื้อเครื่องมือ และสถานที่ในการด�าเนินงาน
           การมีผลข้างเคียงน้อยกว่าคลอร์เฮกซิดีน  ทั้งนี้การ  ในครั้งนี้ตลอดจนส�าเร็จลุล่วงไปด้วยดี
                                          [16]
           ศึกษาทางคลินิกจ�านวนมากที่สนับสนุนว่าการใช้ขมิ้น

           ชันในการรักษาโรคปริทันต์ไม่พบอาการไม่พึงประสงค์
                                                                     References
           ใด ๆ [16-17,40]  ซึ่งล้วนเป็นการศึกษาการใช้ขมิ้นชันจาก
                                                         1.  Caton JG, Armitage G, Berglundh T, Chapple ILC, Jep-
           ต่างประเทศ การศึกษานี้จึงมุ่งเน้นการพัฒนาการใช้
                                                           sen S, Kornman KS, Mealey BL, Papapanou PN, Sanz M,
           ระบบขนส่งสารส�าคัญเฉพาะที่ในรูปแบบของเจลที่     Tonetti MS. A new classification scheme for periodontal
           ผลิตจากสารสกัดขมิ้นชันไทย ซึ่งในปัจจุบันแนวคิด  and peri-implant diseases and conditions-introduction
                                                           and key changes from the 1999 classification. J Clin
           ในด้านการใช้สมุนไพรในการบ�าบัดรักษาโรคก�าลัง    Periodontol. 2018;45 Suppl 20:S1-8.
           มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากมีผลข้างเคียงน้อย     2.  Gasner NS, Schure RS. Periodontal disease. StatPearls.
                                                           Treasure Island (FL): StatPearls Publishing LLC.; 2020.
           หาได้จากพืชพันธุ์ธรรมชาติ  มีแหล่งเพาะปลูกใน    3.  Nazir MA. Prevalence of periodontal disease, its associa-
                                 [42]
           ประเทศ และเป็นการพัฒนาการใช้สมุนไพรไทยใน        tion with systemic diseases and prevention. Int J Health
                                                           Sci (Qassim). 2017;11(2):72-80.
           การส่งเสริมรักษาสุขภาพช่องปากและทางทันตกรรม     4.  Quirynen M, Dadamio J, Velde SV, Smit MD, Dekeyser

           เพื่อสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้สมุนไพรไทยต่อไป   C, Van Tornout MV, Vandekerckhove B. Characteristics
   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71