Page 65 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 65

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  479




            โดยใช้เจลเป็นตัวกลางที่ใช้ในระบบน�าส่งยาเฉพาะ  ข้นดังกล่าวเป็นของเหลวประเภทนอนนิวโตเนียน
            ที่เพื่อใช้ร่วมกับการน�าเจลหรือใส่ในร่องปริทันต์เพื่อ  (non-Newtonian fluid) กล่าวคือความหนืดของ

            ลดการอักเสบ รวมทั้งประเมินคุณสมบัติทางกายภาพ   เจลมีค่าไม่คงที่โดยเมื่ออัตราเฉือนเพิ่มขึ้นค่าความหนืด
                                                              [37]
            คุณสมบัติทางเคมี ให้เหมาะสมกับการใช้ในช่องปาก   จะลดลง  และมีคุณสมบัติแบบวิสโคอีลาสติก (vis-
            และประเมินความคงสภาพของต�ารับเจล ซึ่งการ    coelasticity) ซึ่งสมบัติดังกล่าวท�าให้เจลคาร์โบพอล

            พัฒนาและตั้งต�ารับเจลในการศึกษานี้ได้เลือกสารก่อ  เป็นของเหลวที่มีความหนืด ยืดหยุ่น และกระจายตัว
            เจลชนิด carbopol 934P เนื่องจากเป็นสารก่อเจลที่  ได้เมื่อมีแรงกด ซึ่งเหมาะสมส�าหรับระบบขนส่งยา
            มีคุณสมบัติยึดติดได้ที่เยื่อเมือกในช่องปาก เพื่อเพิ่ม  เฉพาะที่และการยึดติดที่เนื้อเยื่อ [38-39]  และเลือกต�ารับ

            ระยะเวลาในการยึดเกาะและปลดปล่อยสารส�าคัญ    ที่มีการฉีดผ่านเข็มฉีดเบอร์ 21 ได้ เนื่องจากเป็นขนาด
                                                                                 [24]
            เพิ่มความหนืดได้แม้ใช้ความเข้มข้นต�่า ไม่ระคาย  ที่สามารถใส่เจลลงร่องปริทันต์ได้
                                   [33]
            เคืองและเข้ากันได้กับเนื้อเยื่อ  และเป็นพอลิเมอร์     จากคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีพบ
            ก่อเจลตามค่าความเป็นกรดเป็นด่าง การศึกษาของ   ว่าต�ารับ F1 เป็นต�ารับที่เหมาะสมที่สุด และมีความ
            Maha M.A. Nasra และคณะ (2017) ได้ศึกษาใช้สาร  คงตัวที่ดี ทั้งนี้การใช้สารสกัดเอทานอลขมิ้นชันความ

            ก่อเจล carbopol 934P เข้มข้นร้อยละ 1 ส�าหรับสาร  เข้มข้นร้อยละ 1 สอดคล้องกับความเข้มข้นของสาร
            เคอร์คิวมินในการพัฒนาต�ารับรักษาโรคปริทันต์พบ   สกัดที่มีการศึกษาทางคลินิกพบว่าสามารถลดการ
            ว่า สามารถท�าให้ค่อย ๆ เกิดการปลดปล่อยเคอร์คิว-  อักเสบและเชื้อก่อโรคปริทันต์ได้ [16-17,40]  จากผลการ

            มินได้อย่างต่อเนื่อง โดยสูตรต�ารับเจลที่มีการปรับค่า  ศึกษาการหาปริมาณสารส�าคัญในต�ารับเจล F1 ซึ่งใช้
            เจลให้เป็นกลางจะสามารถเพิ่มความหนืดและความ  สารสกัดขมิ้นชันร้อยละ 1 โดยน�้าหนัก พบว่าต�ารับ

                         [34]
            แข็งแรงของเจล  การพัฒนาเจลสารสกัดขมิ้นชัน   เจลประกอบด้วยปริมาณสารเคอร์คิวมินอยด์
            นี้มีสมมติฐานให้เจลที่พัฒนาขึ้นมีค่า pH ใกล้เคียง   ร้อยละ 0.150 ± 0.004 โดยน�้าหนักซึ่งพบว่าต�ารับเจลมี
            กับ 7 เพื่อลดการระคายเคืองต่อเนื้อเยื่อในช่องปาก    ร้อยละของปริมาณสารเคอร์คิวมินอยด์คงเหลือ
                                                  [35]
            และนอกจากนี้ค่า pH ดังกล่าวควรอยู่ในช่วงที่สาร  เป็นร้อยละ 84.84 ± 0.84 โดยสาเหตุที่ลดลงคาด
            ออกฤทธิ์มีความคงตัวโดยการศึกษาของ Kharat    ว่าเกิดจากสารออกฤทธิ์ในกลุ่มดังกล่าวสามารถ
            M. และคณะ (2017) พบว่าสารเคอร์คิวมินมีสภาวะ  มีการสลายตัวได้เมื่อผ่านปฏิกิริยาไฮโดรไลซิสจึง

            ไม่เสถียรเมื่ออยู่ในสารละลายที่เป็นด่าง (pH > 7.0)   จ�าเป็นต้องใช้ตัวท�าละลายร่วม เช่น PEG 400 หรือ
            และมีความเสถียรมากขึ้นเมื่ออยู่ในสภาพที่เป็น   อาจมีการสลายตัวในสภาวะที่ไม่เป็นกรดได้ [19,34]
            กรด (pH < 7.0) และพบความเหมาะสมเมื่อเก็บสาร   ทั้งนี้จากการที่โรคปริทันต์เป็นโรคที่เกิดจากสภาพ

            เคอร์คิวมินในรูปแบบของอิมัลชัน  จากการศึกษานี้  ที่เริ่มต้นจากแบคทีเรียที่ซับซ้อนในไบโอฟิล์ม
                                      [36]
            พบว่าเมื่อวัดค่าความหนืดความเข้มข้นของ Carbopol   ส่งผลให้เกิดการอักเสบที่ตอบสนองโดยตัว

            934P มากขึ้น ความหนืดของเจลจะมากขึ้น ซึ่งจะเห็น  ผู้ป่วย ท�าให้เกิดการท�าลายอวัยวะปริทันต์ขึ้น  Izui S.
                                                                                         [2]
            ได้ว่าเมื่อความเร็วรอบของหัวเข็มวัดเพิ่มขึ้น ค่าความ  และคณะ (2016) พบว่าสารเคอร์คิวมินสามารถยับยั้ง
            หนืดจะลดลง ด้วยสาเหตุจากต�ารับเจลที่ความเข้ม  การเจริญเติบโตของไบโอฟิล์มที่เกิดจากเชื้อ Strep-
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70