Page 60 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 60

474 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




                2.4  การประเมินคุณภาพของต�ารับเจล            2.4.4. การศึกษาการคงสภาพในสภาวะเร่ง
                   2.4.1  การศึกษาคุณสมบัติทางกายภาพ   ด้วยเครื่องปั่นเหวี่ยง (centrifugation test)

           ตรวจสอบและบันทึกโดยการสังเกตด้วยตาเปล่า           ตรวจสอบการคงสภาพของเจลด้วยเครื่อง
           ลักษณะสีของเจล ความเป็นเนื้อเดียวกัน ลักษณะของ  ปั่นเหวี่ยงโดยการบรรจุเจล 10 กรัม ในหลอดปั่น
           เนื้อเจล และลักษณะของกลิ่นและรสชาติ โดยใช้ระบบ  เหวี่ยง (tapered test tube) ปั่นด้วยเครื่องปั่นเหวี่ยง

           สัมผัสของผู้ศึกษาและถ่ายภาพ                 ด้วยความเร็วรอบ 3,000 รอบต่อนาที (rpm) เป็นเวลา
                   2.4.2  การศึกษาคุณสมบัติค่าความเป็น   30 นาทีที่อุณหภูมิห้อง บันทึกลักษณะทางกายภาพ
           กรดด่างของต�ารับเจล                         ของผลิตภัณฑ์ [26]

                   ตรวจสอบค่าความเป็นกรดด่างโดยใช้ pH        2.4.5. การศึกษาการคงสภาพในสภาวะเร่ง
           meter (OHAUS Starter 3100 pH Meter, USA)    (accelerated stability test) ด้วย heating-cooling
           ซึ่งท�าการเทียบมาตรฐานด้วยสารละลายบัฟเฟอร์  test

           มาตรฐานที่ pH 4 และ pH 7 วัดค่า pH ของเจล โดย       จากคุณสมบัติทางกายภาพ ค่าความเป็น
           น�าเจล 1 กรัมละลายน�้ากลั่น 10 มิลลิลิตร วัดตัวอย่าง  กรดด่าง ความหนืด ความสามารถในการฉีดผ่านเข็ม

           ละ 3 ครั้ง [24]                             ฉีด และความคงสภาพของเจลด้วยเครื่องปั่นเหวี่ยง
                   2.4.3  การศึกษาการวัดความหนืด (vis-  เลือกต�ารับเจลที่มีความเหมาะสม 1 ต�ารับ เพื่อตรวจ
           cosity) และความสามารถในการฉีดผ่านเข็ม (sy-  สอบความคงตัวของผลิตภัณฑ์ด้วย heating-cool-

           ringeability studies)                       ing cycle ทั้งหมด 6 รอบ โดยน�าเจลเก็บที่อุณหภูมิ
                  ตรวจสอบความหนืดของต�ารับเจลด้วย      4˚ซ. เป็นเวลา 48 ชั่วโมง และที่อุณหภูมิ 45˚ซ. เป็น

           เครื่องวัดความหนืด Brookfield รุ่น DVE Viscom-  เวลา 48 ชั่วโมง นับเป็น 1 รอบ สังเกตการณ์การ
           eter ที่ความเร็วรอบ 0.3 รอบต่อนาที (rpm) และ 1   เปลี่ยนแปลงของสี กลิ่น วัดความหนืด และความ
           rpm โดยใช้แกนหมุน (spindle) number 64 ที่ 25˚ซ.   เป็นกรดด่างของต�ารับ ในแต่ละรอบ [24]

           ในแต่ละต�ารับเจล จะถูกวัดค่า 3 ครั้ง โดยความหนืด       2.4.6. การหาปริมาณสารส�าคัญในต�ารับเจล
           ของต�ารับที่ถูกเลือกจะส่งวัดค่าความหนืดเพิ่มเติม       ละลายเจลสารสกัดขมิ้นชันในเอทานอล
           ด้วยเครื่องวัดความหนืด Brookfield รุ่น DV2TRV   และปั่นด้วยเครื่องกวนสารเป็นเวลา 24 ชั่วโมง จาก

           โดยใช้แกนหมุน Helipath T-bar Spindles (จาก  นั้นน�าสารละลายดังกล่าวไปกรองผ่านเยื่อเลือกผ่าน
           บริษัทแอพพลายด์ ไซแอนทิฟิค อินสตรูเม้นท์ส จ�ากัด)   ขนาด 0.45 ไมครอน เพื่อน�าไปวิเคราะห์หาปริมาณ
           ที่ความเร็วรอบ 100 rpm โดยใช้ spindle number   สารส�าคัญเคอร์คิวมินอยด์ ด้วยเครื่อง HPLC ใช้

           94 ที่ 25˚ซ. และทดสอบความสามารถในการฉีดผ่าน  คอลัมน์ชนิด C18 ยี่ห้อ Symmetry  ขนาด 4.6
                                                                                    ®
           เข็มเมื่อใส่ลงร่องปริทันต์ โดยเจล 1 มิลลิลิตรบรรจุใน  มิลลิเมตร 5 250 มิลลิเมตร จ�านวน 5 ไมโครลิตร

           กระบอกฉีดและฉีดผ่านเข็ม gauge 21 ให้เจลไหล  ควบคุมอุณหภูมิที่ 33˚ซ. มีวัฏภาคเคลื่อนที่เป็น
           ด้วยแรงกดมือปกติ ประเมินผลความสามารถในการ   acetonitrile และ formic acid ด้วยระบบ gradient
           ไหลออกจากเข็มฉีด [25]                       elution ด้วยสัดส่วน (ตารางที่ 1) ด้วยอัตราการไหล
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65