Page 57 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 57

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  471




            ศึกษาของ Nazir M.A. ในปี 2017 พบว่าโรคปริทันต์  ทั้งยังมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระซึ่งเสริม
            เป็นโรคที่มีความชุกสูงทั่วโลกสามารถพบได้ตั้งแต่วัย  ประสิทธิผลในกระบวนการต้านการอักเสบ พบว่า

                             [3]
            รุ่นกระทั่งวัยผู้สูงอายุ สภาวะการอักเสบของอวัยวะ  สามารถก�าจัดอนุมูลอิสระ เช่น superoxide anion
                                                             [11]
                                                                           [12]
            ปริทันต์สามารถส่งผลต่อคุณภาพของชีวิตของผู้ป่วย   (O2-)  nitric oxide  และสามารถออกฤทธิ์
            โดยพบอาการเจ็บปวดบริเวณเหงือก เจ็บขณะเคี้ยว  เหนี่ยวน�าการแสดงออกของโปรตีนป้องกันเซลล์ใน
                                                                                              [13]
            รับประทานอาหาร มีเลือดออกในช่องปาก เหงือกบวม  ทางอ้อม เช่น superoxide dismutase (SOD)
            หรือแดง มีกลิ่นปาก ฟันโยก รู้สึกสุขภาพช่องปากไม่  ได้ นอกจากนี้ยังพบว่าสามารถต้านเชื้อก่อโรคปริ-
                    [4-5]
            ดี เป็นต้น  ส�าหรับการอักเสบของเหงือกนี้ถึงแม้จะ  ทันต์ และรบกวนการก่อตัวเป็นคราบจุลินทรีย์
                                                                                              [15]
                                                            [14]
            ผันกลับได้แต่ถือเป็นกุญแจความเสี่ยงในการเกิดโรค  การศึกษาทางคลินิกในการรักษาโรคปริทันต์ของสาร
                                                   [6]
            ปริทันต์และการสูญเสียการยึดติดของฟันอย่างถาวร    สกัดขมิ้นชันพบว่า ผลิตภัณฑ์ซึ่งประกอบด้วยสาร
            เนื่องจากการด�าเนินของโรคในรายบุคคลไม่สามารถ  สกัดขมิ้นชันร้อยละ 1 โดยน�้าหนัก สามารถใช้ในการ

            ท�านายได้ การควบคุมการเกิดสภาวะเหงือกอักเสบ  รักษาโรคเหงือกอักเสบและโรคปริทันต์อักเสบได้ โดย
            จึงมีประสิทธิผลและเป็นสิ่งส�าคัญในการป้องกันการ  พบประสิทธิผลด้านการต้านการอักเสบและลดคราบ

            เกิดโรคปริทันต์อักเสบ [7]                   จุลินทรีย์ได้เป็นอย่างดี และปราศจากผลข้างเคียง
                 ขมิ้นชัน (Curcuma longa L.) พืชสมุนไพรไทย   ใด ๆ [16-18]
            ไม้ล้มลุก มีเหง้าอยู่ใต้ดิน เนื้อในเหง้ามีสีส้มเหลือง     แม้สารสกัดขมิ้นชันและเคอร์คิวมินจะมี

            อันทรงคุณประโยชน์ สามารถเพาะปลูกได้ในหลาย   ประสิทธิผลแต่พบข้อจ�ากัดของการใช้สารส�าคัญดัง
                               [8]
            ภูมิภาคของประเทศไทย  สารประกอบส�าคัญคือสาร  กล่าวที่ละลายน�้าได้น้อย มีการดูดซึมต�่า เผาผลาญ
            สีส้มเหลืองคือสารเคอร์คิวมินอยด์ (curcuminoids)   และก�าจัดสารส�าคัญออกจากร่างกายได้รวดเร็ว [19]
            เป็นสารประกอบกลุ่มฟีโนลิก (phenolic com-    ดังนั้นการเพิ่มการละลายสารส�าคัญขมิ้นชันจึงเป็นสิ่ง
            pounds) ประกอบด้วย curcumin, demethoxyc-    ส�าคัญ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการขนส่งสารดัง

                                                            [20]
            urcumin และ bisdemethoxycurcumin ซึ่งเป็น   กล่าว  ระบบน�าส่งยาเฉพาะที่ (local drug delivery
            สารออกฤทธิ์ที่ส�าคัญจากธรรมชาติ มีคุณสมบัติที่โดด  system) เป็นการใช้ยาหรือสารส�าคัญเฉพาะที่บริเวณ
            เด่นในวิถีการควบคุมโมเลกุลเป้าหมายระดับเซลล์  อวัยวะปริทันต์ ซึ่งเป็นแนวทางในการรักษาโรค

            หลายต�าแหน่ง คุณสมบัติเด่นของขมิ้นชันดังกล่าว  ปริทันต์อย่างหนึ่ง สามารถเพิ่มผลส�าเร็จในการรักษา
            นี้ ท�าให้สามารถน�ามาใช้ในการป้องกันและรักษาโรค   โดยมีข้อดีในการใช้เฉพาะต�าแหน่ง ลดผลข้างเคียง
            ปริทันต์ได้ เนื่องจากมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ ต้านอนุมูล  จากการบริโภคสู่ระบบร่างกาย โดยมีการใช้ในรูปแบบ

            อิสระ และต้านเชื้อแบคทีเรียก่อโรคปริทันต์  โดย  ของระบบการฉีดล้าง เส้นใย เจล ไมโครพาร์ทิเคิลส์
                                               [9]
                                                              [21]
            สามารถกดการท�างานของทรานสคริปชันนิวเคลียร์  เป็นต้น  ส�าหรับการขนส่งสารในรูปแบบของเจล
            แฟคเตอร์ แคปปาบี (nuclear factor–kappa B;   เป็นการขนส่งสารรูปแบบกึ่งของเหลว ประกอบด้วย
            NF-kB) ซึ่งเป็นโมเลกุลสัญญาณหลักที่ส�าคัญใน  ระบบแขวนตะกอนที่เกิดจากอนุภาคขนาดเล็ก หรือ
            การก่อให้เกิดการตอบสนองต่อกระบวนการอักเสบ    ระบบของโมเลกุลขนาดใหญ่โดยมีของเหลวแทรก
                                                  [10]
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62