Page 197 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 197

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  611




                 2.3. แรงสนับสนุนทางสังคม (social support)   munity level) เกี่ยวข้องกับวิธีการขยายแนวคิด
            ในสังคมทั่วไปมนุษย์มักมีปฏิสัมพันธ์เป็นเครือข่าย   เทคโนโลยี หรือการปฏิบัติตนจากสังคมหนึ่งไปยังอีก

            เกิดแรงสนับสนุนช่วยเหลือเกื้อกูลกัน จึงเป็นที่มา  สังคมหนึ่ง อาศัยช่องทางการสื่อสารและระบบสังคม
            ของทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม เป็นทฤษฎีระดับ  เพื่อให้ชุมชนตระหนักถึงประโยชน์ เกิดความรู้สึกดี
            ระหว่างบุคคล (interpersonal level) โดยเชื่อว่า  ต่อสิ่งใหม่ โดยสามารถปฏิบัติตามสิ่งนั้นได้ง่าย เป็น

            ถ้ามีแรงสนับสนุนทางสังคมย่อมช่วยให้บุคคลเกิด  รูปธรรม เน้นการสื่อสารสองทาง แลกเปลี่ยนเรียน
            การปฏิบัติตนด้านสุขภาพที่ถูกต้องได้ ท�าให้สุขภาพ  รู้ระหว่างผู้รับและผู้ส่ง รวมถึงการสื่อสารผ่านกลุ่ม
            ของบุคคลนั้นหรือกลุ่มบุคคลนั้นดีไปด้วย [19-20]  แรง  ผู้น�าทางความคิด กระจายไปยังชุมชนเพื่อสร้างการ

                                                                     [22]
            สนับสนุนทางสังคมเกี่ยวข้องกับกลุ่มต่าง ๆ เช่น   ยอมรับในสิ่งใหม่  จากการทบทวนวรรณกรรมยังไม่
            กลุ่มที่สัมพันธ์โดยธรรมชาติ กลุ่มเพื่อน กลุ่มองค์กร   พบการประยุกต์ใช้ทฤษฎีนี้ในงานการแพทย์แผนไทย
                                   [19]
            เป็นต้น โดย Nola J. Pender  ได้ระบุชนิดของแรง  อย่างเห็นได้ชัด อย่างไรก็ตามในเชิงปฏิบัติสามารถ
            สนับสนุนไว้ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านอารมณ์ ด้านข้อมูล  ประยุกต์ใช้ทฤษฎีนี้ได้ เนื่องจากองค์ความรู้การแพทย์
            ข่าวสาร ด้านทรัพยากร และด้านการยอมรับ การ   แผนไทยที่ใช้การส่งเสริมสุขภาพ บางเรื่องเป็นสิ่งใหม่

            ประยุกต์ใช้ทฤษฎีนี้ในงานแพทย์แผนไทย ควรให้  ของชุมชน ตัวอย่างเช่น การท�ากายบริหารแบบฤๅษี
                                                                                 [23]
            แรงสนับสนุนทางสังคมแก่กลุ่มเป้าหมายในทุกด้าน   ดัดตนที่เกี่ยวข้องกับนักพรตฤๅษี  เมื่อน�าองค์ความ
            โดยสามารถบรรยายหรืออภิปรายกลุ่มเพื่อให้แรง  รู้กายบริหารแบบฤๅษีดัดตนไปส่งเสริมการออกก�าลัง

            สนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร ใช้ตัวแบบจริงในการ  กายแก่ชุมชนต่างภูมิภาค ต่างชนชาติพันธุ์ หรือต่าง
            สาธิต ฝึกปฏิบัติ แจกคู่มือ จัดท�านิทรรศการ หรือจัด  ศาสนา จ�าเป็นต้องสื่อสารทั้งสองทาง เน้นสร้างการรับ

            อุปกรณ์และสถานที่เพื่อการช่วยเหลือด้านทรัพยากร   รู้ประโยชน์ของฤๅษีดัดตนในเชิงผลลัพธ์ทางสุขภาพ
            เยี่ยมบ้านเพื่อคัดเลือกบุคคลที่กลุ่มเป้าหมายเชื่อถือ  มากกว่าเชิงความเชื่อและศาสนา ควรสื่อสารโดยตรง
            ศรัทธา จัดเตรียมความพร้อมและก�าหนดบทบาทของ  กับผู้น�าชุมชน ผู้น�าชนเผ่า หรือผู้น�าทางศาสนาให้เข้าใจ

            ผู้ให้แรงสนับสนุนเพื่อให้ก�าลังใจ เกิดแรงสนับสนุน  ตรงกัน จากนั้นให้ผู้น�าทางความคิดเหล่านั้นสร้างการ
            ด้านอารมณ์และการยอมรับ ตลอดจนช่วยกระตุ้น    รับรู้ที่ถูกต้องแก่คนในชุมชนของตน เพื่อลดความตื่น
            เตือนให้ปฏิบัติตน ทั้งนี้สามารถประยุกต์ใช้แรง  ตระหนกทางวัฒนธรรม (culture shock) เป็นต้น

            สนับสนุนทางสังคมร่วมกับทฤษฎีอื่นร่วมด้วยได้ เช่น
            การส่งเสริมพฤติกรรมการออกก�าลังกายแบบฤๅษี   3. กลวิธีที่เกี่ยวข้องกับกำรส่งเสริมสุขภำพใน
            ดัดตนที่ประยุกต์ใช้แรงสนับสนุนทางสังคมร่วมกับ  งำนกำรแพทย์แผนไทย

                                                  [21]
            รูปแบบพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์          การเลือกกลวิธีที่เหมาะสมถือเป็นส่วนส�าคัญที่
            หรือการประยุกต์ใช้แรงสนับสนุนทางสังคมร่วมกับ  ท�าให้การส่งเสริมสุขภาพบรรลุวัตถุประสงค์ได้ รวม

                                        [18]
            ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน  เป็นต้น      ถึงเลือกเทคนิคและวิธีการในการจัดกิจกรรมการส่ง
                                                                      [24]
                 2.4. ทฤษฎีการกระจายด้านนวัตกรรม (diffu-  เสริมสุขภาพด้วย  แบ่งเป็นกลวิธีที่เน้นตัวบุคคล
            sion of innovation) เป็นทฤษฎีระดับชุมชน (com-  กลวิธีที่เน้นกลุ่มคน และกลวิธีที่เน้นมวลชน ในงาน
   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201   202