Page 194 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 194
608 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
ต่อความสมดุลธาตุในร่างกาย ตัวอย่างเช่น การปฏิบัติ เลี่ยงการบริโภคอาหารแสลง เช่น อาหารรสจัด อาหาร
ตนตามหลักธรรมานามัย เป็นต้น สุก ๆ ดิบ ๆ อาหารหมักดองบูดเน่า หลีกเลี่ยงการ
ธรรมานามัย เป็นระบบปฏิบัติการสร้างสุข บริโภคอาหารที่ไม่คุ้นชินในปริมาณมากเกินไป หรือ
ภาวะด้วยวิธีธรรมชาติ จากแนวคิดของศาสตราจารย์ บริโภคอาหารไม่ตรงเวลา หลีกเลี่ยงการตากแดด
นายแพทย์อวย เกตุสิงห์ ผู้มีคุณูปการต่อการแพทย์ ตากฝน หรือตากน�้าค้าง และควรพักผ่อนให้เพียงพอ
แผนไทย ซึ่งระบบนี้ครอบคลุมการปรับตัวเข้ากับ เป็นต้น
ปัจจัยต่าง ๆ เพื่อมิให้ธาตุในร่างกายเสียสมดุล น�า ทั้งนี้ การน�าความรู้และทักษะการปฏิบัติตนไป
[9]
ไปสู่การมีสุขภาวะที่ดีได้ ประกอบด้วย 3 ด้าน ดังนี้ ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ผู้ที่เกี่ยวข้องควรประยุกต์
1) กายานามัย เป็นการสร้างอนามัยด้านร่างกาย ใช้ทฤษฎี และกลวิธีการที่เหมาะสม
โดยการกระตุ้นร่างกายที่พอเหมาะด้วยกายบริหาร
การออกก�าลังกาย หรือการปรับเปลี่ยนอิริยาบถ เน้น 2. ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับกำรส่งเสริมสุขภำพใน
วิธีการที่ได้ผลดี เกิดอันตรายน้อยที่สุด สามารถ งำนกำรแพทย์แผนไทย
ประยุกต์ใช้อุปกรณ์ใกล้ตัว และง่ายต่อการปฏิบัติ เป้าหมายส�าคัญของการส่งเสริมสุขภาพ คือ
เช่น การเดิน การวิ่ง กายบริหารก้าวเต้น-เก้าตา หรือ การพัฒนาหรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเพื่อน�า
กายบริหารแบบฤๅษีดัดตน เป็นต้น ไปสู่คุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้นการศึกษานี้จึงได้ทบทวน
2) จิตตานามัย เป็นการสร้างอนามัยด้านจิตใจ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม เหตุปัจจัยของ
หรือการพัฒนาจิตใจและสภาวะอารมณ์ให้แข็งแรง พฤติกรรม ตลอดจนการปรับพฤติกรรมตั้งแต่ระดับ
สมบูรณ์ตามหลักศาสนาหรือความเชื่อของตน ภาย บุคคล ระดับระหว่างบุคคล และระดับชุมชน โดย
ใต้แนวคิด จิตเป็นนาย กายเป็นบ่าว เช่น การฝึกจิต ทฤษฎีส�าคัญที่พบได้บ่อย [10-11] และสามารถประยุกต์
ตามหลักพระพุทธศาสนา หรือการผ่อนคลายความ ใช้ในงานแพทย์แผนไทยได้ มีดังนี้
ตึงเครียด เป็นต้น 2.1 กรอบการวิเคราะห์ปัจจัยของพฤติกรรม
3) ชีวิตานามัย เป็นการด�ารงชีวิตตามหลัก (PRECEDE Framework) ปัญหาพฤติกรรมสุขภาพ
อนามัย การรักษาสุขอนามัยส่วนตัว การรักษาอนามัย ในงานการแพทย์แผนไทยสามารถพบได้หลากหลาย
สิ่งแวดล้อมและที่อยู่อาศัย การบริโภคอาหารและ เช่น การไม่บริโภคอาหารตามธาตุเจ้าเรือนอยู่เป็น
น�้าดื่มให้เพียงพอ เลือกอาหารที่มีคุณประโยชน์หรือ นิจแม้ไม่เจ็บป่วย การใช้ยาสมุนไพรไม่ถูกต้อง การ
มีสมุนไพรเป็นส่วนประกอบ งดเว้นการดื่มสุรา การ เลือกซื้อยาสมุนไพรโดยไม่ได้รับค�าแนะน�าที่ถูก
สูบบุหรี่ และการใช้สารเสพติด ตลอดจนการใช้ชีวิต ต้อง ซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้อาจน�าไปสู่ความไม่สมดุล
ให้ใกล้ชิดกับธรรมชาติมากที่สุด สอดคล้องกับหลัก ธาตุของร่างกายในที่สุด นับเป็นปัญหาส�าคัญที่ควร
การปรับพฤติกรรมตามทฤษฎีการแพทย์แผนไทยที่ ได้รับการแก้ไขอย่างตรงจุด โดยเฉพาะรู้เหตุปัจจัย
เกี่ยวข้องกับมูลเหตุของการเกิดโรค เช่น หลีกเลี่ยง ที่แท้จริง ซึ่งกรอบการวิเคราะห์ปัจจัยของพฤติกรรม
[8]
การท�างานหนักหักโหม หลีกเลี่ยงการกลั้นอุจจาระ นี้ เป็นแบบจ�าลองที่พัฒนาขึ้นโดย Lawrence W.
[12]
ปัสสาวะ ควรบริโภคอาหารในปริมาณที่พอดี หลีก Green และคณะ นิยมใช้ในการวิเคราะห์สาเหตุ