Page 195 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 195

J Thai Trad Alt Med                                    Vol. 20  No. 3  Sep-Dec  2022  609




            ของปัญหาด้านสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและ  การใช้ยาสมุนไพรของผู้ป่วยโรคเบาหวานในจังหวัด
                                                                                        [15]
            ปัจจัยก�าหนดพฤติกรรม โดยเฉพาะด้านการศึกษา   กาญจนบุรีของฤทธิชัย พิมปา และคณะ  พบว่า
            ปัจจัยที่สามารถน�ามาวางแผนการส่งเสริมสุขภาพได้  สัมพันธ์กับปัจจัยน�าด้านเจตคติ ดังนั้นการส่งเสริมสุข
            ตรงจุด อันเป็นที่มาของชื่อกรอบนี้ คือ PRECEDE   ภาพในการปรับพฤติกรรมนี้ ควรก�าหนดวัตถุประสงค์
            Framework (Predisposing, Reinforcing, and   และจัดกิจกรรมให้ตรงกับเจตคติในการใช้ยาสมุนไพร

            Enabling Causes in Educational Diagnosis and   จึงเกิดประสิทธิภาพดีกว่าการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริม
                                 [12]
            Evaluation Framework)  แบ่งเป็น 3 กลุ่มปัจจัย   ปัจจัยด้านอื่น ๆ ดังตัวอย่างแนวทางด�าเนินงาน (ตาราง
            ดังนี้                                      ที่ 1)

                 1)  กลุ่มปัจจัยน�า (predisposing factors) เป็น     2.2  ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเอง
            ปัจจัยที่อยู่ภายในตัวบุคคลเป็นพื้นฐานท�าให้เกิดแรง  (self-efficacy theory) เป็นทฤษฎีระดับบุคคล (in-
            จูงใจกระท�าพฤติกรรม เช่น ความรู้ เจตคติ ความเชื่อ   dividual level) ถูกพัฒนามาจากทฤษฎีการเรียนรู้

            ค่านิยม ความมั่นใจ การรับรู้ความสามารถของตนเอง   ทางสังคม (social learning theory) ของ Albert
            รวมถึงทักษะที่จ�าเป็นในการดูแลสุขภาพ        Bandura  ที่เชื่อว่าพฤติกรรมไม่ได้เกิดขึ้นและ
                                                                [16]
                 2)  กลุ่มปัจจัยเอื้อ (enabling factors) เป็น  เปลี่ยนแปลงด้วยปัจจัยทางสภาพแวดล้อมเพียงอย่าง
            ปัจจัยแวดล้อมที่เอื้อต่อการเกิดพฤติกรรม เช่น วัสดุ  เดียว หากแต่มีปัจจัยส่วนบุคคลร่วมด้วย กล่าวคือ
            อุปกรณ์ สถานที่ ทรัพยากร เวลา รวมถึง กฎ ระเบียบ   ถ้าบุคคลมีการรับรู้ความสามารถตนเองสูงและคาด

            นโยบายที่สามารถเอื้อให้ประชาชนเข้าถึงสิ่งเหล่านี้ได้   หวังในผลลัพธ์ที่ตามมาสูง ย่อมมีแนวโน้มกระท�า
                 3)  กลุ่มปัจจัยเสริม (reinforcing factors)   พฤติกรรมเป้าหมายสูงขึ้น โดยการสร้างการรับรู้ความ

            เป็นบุคคลรอบข้างที่ส่งเสริมท�าให้เกิดพฤติกรรม เช่น   สามารถตนเองมี 4 วิธี ได้แก่
            ครอบครัว เพื่อน ครู อาจารย์ นายจ้าง ลูกน้อง คนใน
                                                        ตารางที่ 1 ตัวอย่างแนวทางดำาเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
            ชุมชน ผู้น�าชุมชน ผู้ปกครองหรือผู้มีอ�านาจตัดสินใจ
                                                                 ที่สอดคล้องกับปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรม
            ที่ส่งเสริมให้บุคคลเกิดพฤติกรรมสุขภาพได้             สุขภาพ
                 ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ปัจจัยที่สัมพันธ์
                                                        ประเภท        ตัวอย่าง
            กับพฤติกรรมสุขภาพสามารถน�าไปวางแผน เพื่อจัด
                                                        เป้าประสงค์   กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานในจังหวัดแห่ง
            กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพได้อย่างตรงเป้าประสงค์
                                                                      หนึ่งปลอดภัยจากการใช้สมุนไพร
            ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ทฤษฎีนี้ เช่น จากการศึกษา
                                                        วัตถุประสงค์ทั่วไป  กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมการใช้สมุนไพร
            พฤติกรรมการดูแลสุขภาพตนเองด้วยวิถีการแพทย์                ที่ถูกต้องเหมาะสม

            แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกของอาสาสมัคร       วัตถุประสงค์เฉพาะ  กลุ่มเป้าหมายทุกคนมีเจตคติที่ดีต่อการ
            สาธารณสุขประจ�าหมู่บ้านในจังหวัดสุโขทัยของฉัตร            บริโภคสมุนไพรที่ถูกต้อง

                                [13]
            ณรงค์ พุฒทอง และคณะ  และในจังหวัดพิษณุโลก   แนวทางดำาเนินงาน  การพัฒนาเจตคติที่ดีต่อการบริโภค
            ของสุคนธ์ธิกา นพเก้า และคณะ  พบว่าสัมพันธ์กับ             สมุนไพรที่ถูกต้องตามหลักการการ
                                     [14]
            ปัจจัยน�าด้านเจตคติ หรือจากการศึกษาพฤติกรรม               แพทย์แผนไทย
   190   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200