Page 192 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 192
606 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
Health Promotion in Thai Traditional Medicine Practice: Related Theories
and Strategies
Ritichai Pimpa
School of Integrative Medicine, Mae Fah Luang University, Thasud Sub-District, Muang District,
Chiang Rai 57100, Thailand
Corresponding author: ritichai.pim@mfu.ac.th
Abstract
Thai traditional medicine (TTM) practitioners are personnel who have been relying on the knowledge of
Thai traditional medicine to take care of the health of Thai people for a long time. Personnel in this field have
been upgraded and developed to meet the health needs in the new era, eventually becoming under the TTM and
applied TTM professions, both of which play an essential role in the current Thai public health system. In addi-
tion to disease prevention, disease treatment, and health rehabilitation, an essential duty in the medical practice
of TTM or applied TTM practitioners is health promotion, which is defined as the process of creating well-being
and enabling people to improve their health. Those who will successfully promote the health of others must have
knowledge and understanding of the health promotion process, especially the selection of content consistent with
relevant theories at the individual, interpersonal, and community levels. This study includes selecting a strategy
appropriate for the objectives and target groups to lead to health promotion practices that benefit people and the
TTM or applied TTM profession in the future.
Key words: health promotion, health promotion theories and strategies, Thai traditional medicine
บทน�ำและวัตถุประสงค์ สุขภาพ จนท�าให้เกิดโรคภัยต่าง ๆ เช่น โรคเบาหวาน
สมัยอดีตการดูแลสุขภาพของมนุษย์มักเกิดขึ้น โรคหลอดเลือดหัวใจและสมอง โรคถุงลมโป่งพอง
หลังเกิดการเจ็บป่วยแล้ว ส่งผลให้ระบบสาธารณสุข โรคมะเร็ง โรคความดันโลหิตสูง และโรคอ้วนลงพุง
[1-2]
ให้ความส�าคัญกับการรักษาโรคมาเป็นอันดับต้น ๆ เป็นต้น กระแสการดูแลรักษาสุขภาพจึงเปลี่ยนทิศทาง
แต่ระยะหลังพบว่าความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นมักเกิดจาก มาให้ความส�าคัญกับการปรับพฤติกรรมสุขภาพมาก
[3]
พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ท�าให้เกิดโรคจากพฤติกรรม ขึ้น จึงเกิดกระบวนการที่เอื้อให้ผู้คนสามารถจัดการ
กลุ่มโรคไม่ติดต่อ เรียกว่า โรคเอ็นซีดี (NCDs) ซึ่ง กับสุขภาพของตนเองได้ หรือเรียกว่า การส่งเสริม
[4-5]
มาจากค�าว่า non-communicable diseases อัน สุขภาพ (health promotion)
มีสาเหตุปัจจัยจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต ตั้งแต่ การแพทย์แผนไทยเป็นระบบการดูแลสุขภาพ
[1]
พฤติกรรมการกิน การขับถ่าย การท�างาน ตลอดจน แบบองค์รวมที่มีเอกลักษณ์ เน้นการดูแลสุขภาพใน
การพักผ่อนที่ไม่เหมาะสม แล้วจึงค่อย ๆ ส่งผลต่อ ทุกมิติ ซึ่งตามความหมายในพระราชบัญญัติวิชาชีพ