Page 200 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 200
614 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
4. กำรวิเครำะห์กลุ่มเป้ำหมำย ประยุกต์ใช้การแบ่งตามหลักการตลาด (market
[29]
การเข้าใจคุณลักษณะของกลุ่มเป้าหมายต่าง ๆ segmentation) ได้ เช่น การแบ่งตามคุณลักษณะ
ก่อนด�าเนินการส่งเสริมสุขภาพถือเป็นสิ่งส�าคัญ ทางประชากร ได้แก่ เพศ อายุ ศาสนา เชื้อชาติ สัญชาติ
เนื่องจากแต่ละกลุ่มเป้าหมายมีคุณลักษณะแตกต่าง เป็นต้น การแบ่งตามภูมิศาสตร์ ได้แก่ ต�าแหน่งที่ตั้ง
กัน เช่น หากแบ่งกลุ่มเป้าหมายตามช่วงวัย กลุ่ม ภูมิภาค สภาพภูมิประเทศ เป็นต้น การแบ่งตาม
เป้าหมายวัยเด็ก วัยนี้อาจไม่ค�านึงถึงการดูแลสุขภาพ ลักษณะทางจิตนิสัย ได้แก่ ทัศนคติ ค่านิยม วิถีชีวิต
มากนัก มักให้ความส�าคัญในเรื่องความสัมพันธ์ เป็นต้น การแบ่งตามพฤติกรรม ได้แก่ พฤติกรรมการ
ระหว่างเพื่อน ความรัก ความอบอุ่นมากกว่า ดังนั้น แสดงออก การอุปโภคบริโภค ความภักดีในตราสิน
การส่งเสริมสุขภาพในวัยเด็กควรใช้กลวิธีเรื่องของ ค้า เป็นต้น และการแบ่งตามประโยชน์ที่ได้รับ ได้แก่
เพื่อน ความรัก หรือครอบครัวเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งใน กลุ่มที่ได้รับประโยชน์มากหรือกลุ่มที่ได้รับประโยชน์
การส่งเสริมสุขภาพด้วย ขณะที่กลุ่มวัยผู้ใหญ่ ชอบ น้อย เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้มีส่วนช่วยสร้างความเข้าใจ
ความเป็นเหตุเป็นผล การมีประสบการณ์ร่วม การ ในคุณลักษณะของกลุ่มเป้าหมายได้ละเอียดยิ่งขึ้น
ทดลองฝึกฝนด้วยตนเองจึงเชื่อและปฏิบัติตามได้
ส่วนกลุ่มวัยผู้สูงอายุ ควรเน้นข้อมูลที่เข้าถึงง่าย ไม่ 5. กำรสร้ำงสื่อและกำรเลือกช่องทำงกำร
ยาก ไม่ซับซ้อน สามารถอธิบายได้โดยใช้ค�าพูดหรือ สื่อสำร
ภาพวาดประกอบ เนื่องจากวัยผู้สูงอายุมีทักษะหรือ การสร้างสื่อในงานส่งเสริมสุขภาพ ควรตั้งอยู่บน
[30]
ปัญหาด้านสุขภาพที่เสื่อมไปตามกาลเวลา เช่น การ แนวคิดที่ว่า มนุษย์มีขีดจ�ากัดในด้านความจ�า ร่วม
ได้ยิน การมองเห็น ความจ�า และการเคลื่อนไหว น�า กับความรอบรู้ด้านสุขภาพของแต่ละบุคคลไม่เท่ากัน
มาซึ่งความรอบรู้ด้านสุขภาพที่ลดลงได้ (low health ดังนั้นสื่อที่สร้างสรรค์ขึ้น ควรเน้นให้จดจ�าได้เป็น
[28]
literacy) จึงจ�าเป็นอย่างยิ่งส�าหรับการเลือกใช้กลวิธี ส�าคัญ เช่น การแบ่งปริมาณข้อมูลให้กระชับ ปรับ
[28]
ที่เหมาะสมกับกลุ่มนี้ เช่น การสอนให้ช้าลง หลีกเลี่ยง ขนาดของตัวอักษรให้กลุ่มเป้าหมายมองเห็นชัดเจน
การใช้ศัพท์ทางการแพทย์ เช่น “อุตุสมุฏฐาน’’ เปลี่ยน เลือกใช้ตัวอักษรรูปแบบหนาในข้อความส�าคัญ เพิ่ม
เป็น “เหตุจากฤดูกาล’’ เป็นต้น หรือเพิ่มความเข้าใจ ความเข้าใจโดยการปรับข้อความเขียนหรือตัวเลขเป็น
ด้วยภาษาถิ่น เช่น “ลูกประคบ’’ เปลี่ยนเป็น “ยาจู้’’ ข้อความเสียง กราฟ หรือรูปภาพ สีสันที่ใช้ในสื่อ
[28]
ในกลุ่มผู้สูงอายุทางภาคเหนือของไทย เป็นต้น การ มีความส�าคัญเช่นกัน มักส่งผลต่อการรับรู้ของกลุ่ม
เลือกแสดงข้อความเป็นรูปภาพ การแบ่งแสดงข้อมูล เป้าหมายด้วยเสมอ เช่น สีขาวแสดงถึงความบริสุทธิ์
เท่าที่จ�าเป็น และอาจให้ผู้สูงอายุให้ข้อมูลป้อนกลับ สีฟ้าแสดงถึงน�้าหรือท้องฟ้า สีเขียวแสดงถึงสุขภาพ
เพื่อประเมินว่าผู้สูงอายุได้รับสาระนั้นถูกต้องครบ สีชมพูแสดงถึงลักษณะเพศหญิง เป็นต้น แต่
[31]
ถ้วนแล้ว ที่ส�าคัญต้องค�านึงถึงศักดิ์ศรีความเป็น ทว่ากลุ่มเป้าหมายต่างสังคมต่างวัฒนธรรม ย่อม
[28]
มนุษย์ และในบริบทวัฒนธรรมของท้องถิ่น การเข้าหา มีการรับรู้สีที่แตกต่างกันได้ เช่น สีแดงแสดงถึง
ผู้สูงอายุควรเข้าหาด้วยความเคารพ และนอบน้อม ความกระตือรือร้นในวัฒนธรรมตะวันออก ในขณะ
ถ่อมตน เป็นต้น การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมายสามารถ ที่วัฒนธรรมตะวันตก สีแดงหมายถึงสิ่งดึงดูดใจ