Page 198 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 198
612 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
แพทย์แผนไทยอาจพบกลวิธีการส่งเสริมสุขภาพหลาย กายบริหารแบบฤๅษีดัดตน ผู้สอนเลือกช่วงเวลาและ
รูปแบบ เช่น การจัดการเรียนรู้สุขศึกษา (สุขศึกษา) สถานที่ให้เหมาะสมปลอดภัย ผู้สอนบรรยายขั้นตอน
การให้ค�าปรึกษา การให้ค�าแนะน�า การสื่อสารแบบมี การท�ากายบริการแบบฤๅษีดัดตนแต่ละท่าให้กลุ่ม
ส่วนร่วม เป็นต้น เป้าหมายฟังผ่านสื่อที่เหมาะสม ผู้สอนสาธิตการท�า
การศึกษานี้มุ่งทบทวนกลวิธีสุขศึกษาเป็น กายบริการแบบฤๅษีดัดตนแต่ละท่า แต่ละขั้นตอน
หลัก ซึ่งเป็นกลวิธีที่ได้รับความนิยม อีกทั้งหลักสูตร จากนั้นให้กลุ่มเป้าหมายปฏิบัติตาม เมื่อปฏิบัติถูกต้อง
ที่เกี่ยวข้องกับแพทย์แผนไทยยังมีการจัดการเรียน ผู้สอนกล่าวชื่นชมหรือให้รางวัล เป็นต้น
การสอนหรือฝึกทักษะกลวิธีนี้ด้วย กลวิธีสุขศึกษามี 2) ปัญญานิยม (cognitivism) เป็นทฤษฎี
ขอบเขตที่เน้นการจัดการปัจจัยของพฤติกรรมสุขภาพ ที่เน้นการสร้างกระบวนการคิดวิเคราะห์ในกลุ่มเป้า
ระดับบุคคลและระดับระหว่างบุคคลมากกว่าระดับ หมาย โดยผู้สอนเป็นผู้เตรียมสาระและกระบวนการ
ชุมชน เป็นการจัดประสบการณ์การเรียนรู้บนพื้นฐาน ให้กับกลุ่มเป้าหมาย จากนั้นกลุ่มเป้าหมายจึงจัดการ
ทฤษฎีเชิงปฏิบัติให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลมีโอกาสรับ กับสาระเหล่านั้นเอง ก่อให้เกิดการคิดวิเคราะห์
รู้ข้อมูลข่าวสารและมีทักษะที่จ�าเป็นในการตัดสินใจ และตอบสนองออกมาเป็นพฤติกรรมสุขภาพ [26]
[23]
เพื่อสุขภาวะที่ดี โดยแบ่งตามทฤษฎีที่เหมาะกับงาน โดยสาระที่ให้นั้นต้องชัดเจน เป็นเหตุเป็นผล และ
แพทย์แผนไทย ดังนี้ กระบวนการที่จัดต้องเน้นพัฒนาทักษะการคิด
1) พฤติกรรมนิยม (behaviorism) เป็นทฤษฎี วิเคราะห์ แบ่งเป็นวิธีทางอ้อม เช่น การอภิปราย
[25]
ด้านการเรียนรู้ เหมาะส�าหรับผู้ป่วยหรือประชาชน กระบวนการแก้ปัญหาซับซ้อน กรณีศึกษา การสะท้อน
(กลุ่มเป้าหมาย) ที่มีความรู้พื้นฐานเรื่องนั้น ๆ ในระดับ กลับ เป็นต้น และวิธีการมีส่วนร่วม เช่น การอภิปราย
ต�่า แพทย์แผนไทยหรือแพทย์แผนไทยประยุกต์ (ผู้ กลุ่ม บทบาทสมมุติ การระดมความคิด การเรียนรู้
สอน) ต้องจัดประสบการณ์ที่เน้นการสอนโดยตรง ร่วมกันแบบกลุ่ม การโต้วาที สถานการณ์จ�าลอง การ
อย่างละเอียด เช่น การบรรยาย การสาธิตแต่ละขั้น ใช้ชุดโครงการจัดการปัญหา เป็นต้น อย่างไรก็ตาม
ตอน ให้ฝึกปฏิบัติตาม กลุ่มเป้าหมายจึงสามารถตอบ ทฤษฎีนี้ใช้ได้ดีเมื่อกลุ่มเป้าหมายมีความรู้พื้นฐาน
สนองหรือเรียนรู้ได้ดี จากนั้นจึงให้แรงเสริมทางบวก หรือมีประสบการณ์ร่วมในเรื่องนั้นอยู่แล้ว นอกจาก
เพื่อสนับสนุนพฤติกรรมที่เกิดขึ้น เช่น ให้รางวัล กล่าว นี้ยังจ�าเป็นต้องใช้ทรัพยากรการเรียนรู้มากพอสมควร
ชื่นชม เป็นต้น ทฤษฎีนี้เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายทั้งที่ และเวลาที่ใช้ในการจัดกระบวนการนี้ต้องมากเพียง
มีหรือไม่มีประสบการณ์ร่วม แต่ต้องอาศัยองค์ความ พอเช่นกัน อีกทั้งความสนใจในสาระอาจลดลงได้ หาก
รู้ (สาระ) ที่ถูกต้อง ด�าเนินการรวดเร็ว และสามารถ กลุ่มเป้าหมายไม่มีความรู้หรือประสบการณ์ร่วม
[25]
จัดการเรียนรู้ให้จบภายในวันเดียวได้ อย่างไรก็ตาม ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ เช่น การปรับพฤติกรรม
กลุ่มเป้าหมายมักกระท�าตามที่บอกเท่านั้น ไม่สามารถ การเลือกใช้ยาสมุนไพรในผู้ป่วยโรคเบาหวานเหมาะ
สร้างกระบวนการให้เกิดความคิดสร้างสรรค์ การคิด กับผู้ที่มีประสบการณ์การเลือกใช้สมุนไพรเพื่อลด
[24]
แบบมีวิจารณญาณ หรือการแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนได้ น�้าตาลในเลือดอยู่แล้ว ผู้สอนเน้นสร้างการรับรู้การ
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ เช่น การสอนผู้ป่วยท�าท่า ใช้ยาสมุนไพรที่ถูกต้องปลอดภัย อาจยกตัวอย่าง