Page 202 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 202
616 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
บทวิจำรณ์ ความเป็นมนุษย์ เข้าใจศาสตร์การแพทย์แผนไทย
ศาสตร์การแพทย์แผนไทยเป็นภูมิปัญญาของ ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพเป็นอย่างดี โดย
ชาติที่ใช้ดูแลสุขภาพคนไทยมาอย่างยาวนาน องค์ เฉพาะการป้องกันไม่ให้ธาตุเสียสมดุล ครอบคลุม
ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพไม่ให้เจ็บป่วย มักมุ่งเน้น ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรรมการใช้ชีวิต
การส่งเสริมไม่ให้ธาตุในร่างกายเสียสมดุล โดยให้ สามารถสร้างกระบวนการส่งเสริมสุขภาพได้อย่าง
ความส�าคัญกับมูลเหตุของการเกิดโรค ซึ่งเกี่ยวข้อง เหมาะสม สอดคล้องวัตถุประสงค์ ตั้งอยู่บนพื้นฐาน
กับพฤติกรรมเป็นหลัก ตั้งแต่การบริโภคอาหาร การ แนวคิดทฤษฎีในระดับบุคคล ระดับระหว่างบุคคล
พักผ่อน การท�างาน และสภาวะอารมณ์ เป็นต้น สอด หรือระดับชุมชน เลือกวิธีการและกลวิธีที่ตรงกับกลุ่ม
รับกับปัญหาสุขภาพในปัจจุบัน ที่พบว่า โรคภัยส่วน เป้าหมาย ตลอดจนการสร้างสื่อและเลือกช่องทางการ
ใหญ่เกิดจากพฤติกรรม นับได้ว่าเป็นศาสตร์ที่เก่า สื่อสารที่เหมาะสมด้วย
แก่แต่ยังทันสมัยอยู่เสมอ อย่างไรก็ตามประสิทธิผล
ของการดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผน ข้อเสนอแนะ
ไทยขึ้นอยู่กับกระบวนการส่งเสริมสุขภาพที่ดีผ่าน การส่งเสริมสุขภาพในงานแพทย์แผนไทย
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องและเลือกกลวิธีที่ สามารถอาศัยหลายทฤษฎี หลายกลวิธีที่เกี่ยวข้อง
เหมาะสม โดยหลักฐานทางวิชาการหลายงานสนับสนุน และสามารถบูรณาการกับหน่วยงานหลายภาคส่วน
ว่าความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยที่น�าไปประยุกต์ใช้ ในการแก้ไขปัญหาสุขภาพที่ซับซ้อนอย่างเป็นองค์
กับทฤษฎีและกลวิธีด้านการส่งเสริมสุขภาพนั้น ก่อ รวม ภายใต้การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอย่างจ�ากัด
ให้เกิดประสิทธิผลและความส�าเร็จได้อย่างดี นอกจาก เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อมวลมนุษยชาติและต่อ
นั้น การศึกษานี้ยังได้เสนอและยกตัวอย่างทฤษฎีและ วิชาชีพการแพทย์แผนไทยต่อไป
กลวิธีอื่นที่สามารถน�าไปประยุกต์ใช้ในงานการแพทย์
แผนไทยได้อีกด้วย ประเด็นส�าคัญที่การศึกษานี้ได้
References
ศึกษา ทบทวน และเรียบเรียงขึ้น หวังให้ผู้ที่เกี่ยวข้อง
1. The Lancet. Non-communicable diseases: What now?
โดยเฉพาะแพทย์แผนไทยและแพทย์แผนไทย Lancet. 2022;399(10331):1201.
ประยุกต์ สามารถน�าไปประกอบการพิจารณาวางแผน 2. Jacob KS. Non-communicable diseases from a public
health perspective. Natl Med J India. 2019;32(4):193-6.
หรือด�าเนินการส่งเสริมสุขภาพในงานการแพทย์แผน 3. Povlsen L, Borup I. Health promotion: a developing focus
ไทยได้อย่างมีประสิทธิผล area over the years. Scand J Public Health. 2015;43(16
Suppl):46-50.
บทสรุป 4. Nutbeam D, Muscat DM. Health promotion glossary
2021. Health Promot Int. 2021;36(6):1578-98.
5. Green LW, Kreuter MW. Health program planning:
บทบาทที่ส�าคัญไม่น้อยไปกว่าการรักษาโรค An educational and ecological approach. New York:
ของแพทย์แผนไทยหรือแพทย์แผนไทยประยุกต์ คือ McGraw-Hill; 2005.
6. Thai Traditional Medical Professions Act B.E.2556 (2013).
การส่งเสริมสุขภาพ ผู้ที่ส่งเสริมสุขภาพได้ดีนั้นควร
Published in Government Gazette, Vol. 130, Part 10A.
มีคุณลักษณะทั้งความเป็นแพทย์ ความเป็นครู และ (2013 Feb 1). (in Thai)