Page 193 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 193
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 3 Sep-Dec 2022 607
การแพทย์แผนไทย พ.ศ. 2556 การแพทย์แผนไทย เนื้อหำที่ทบทวน
คือกระบวนการทางการแพทย์เกี่ยวกับการตรวจ
วินิจฉัย บ�าบัด รักษา ป้องกันโรค ฟื้นฟูสุขภาพ และ 1. ศำสตร์กำรแพทย์แผนไทยกับกำรส่งเสริมสุขภำพ
[6]
สิ่งส�าคัญอีกประการ คือ การส่งเสริมสุขภาพ การ ความสมดุลของธาตุ คือ หัวใจหลักของศาสตร์
แพทย์แผนไทยมีองค์ความรู้ด้านการดูแลสุขภาพไม่ การแพทย์แผนไทย ร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์
ให้เจ็บป่วย เช่น การบริโภคอาหาร การออกก�าลังกาย ปราศจากโรคภัย คือ ร่างกายที่มีระบบของธาตุท�างาน
การพักผ่อน การปรับสภาวะจิตใจและอารมณ์ รวมถึง ประสานกันอย่างสมดุลตามคัมภีร์แพทย์แผนไทย [7]
การปรับสิ่งแวดล้อมให้เอื้อต่อการมีสุขภาพดี อย่างไร เช่น คัมภีร์สมุฏฐานวินิจฉัย คัมภีร์โรคนิทาน คัมภีร์
ก็ตามการส่งต่อองค์ความรู้เหล่านี้ไปยังกลุ่มเป้าหมาย ธาตุวิภังค์ คัมภีร์ธาตุวิวรณ์ กล่าวว่า ร่างกายมนุษย์
ให้สามารถน�าไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนได้อย่าง ประกอบด้วย 4 ธาตุเป็นส�าคัญ ได้แก่ 1) ธาตุดิน (ปถวี
มีประสิทธิผล ควรผ่านกระบวนการส่งเสริมสุขภาพ ธาตุ) มีลักษณะเป็นของแข็ง เช่น กล้ามเนื้อ สมอง
ที่ดี โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เลือกกลวิธีที่ หัวใจ เป็นต้น 2) ธาตุน�้า (อาโปธาตุ) เป็นของเหลว
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ ต่าง ๆ ที่ไหลไปมาทั่วไปในร่างกาย เช่น เลือด เสมหะ
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวนองค์ น�้าลาย เป็นต้น 3) ธาตุลม (วาโยธาตุ) เป็นพลังงานที่
ความรู้และรวบรวมงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการส่ง ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย เช่น ลมในระบบ
เสริมสุขภาพในงานแพทย์แผนไทย โดยเน้นเนื้อหา ไหลเวียน ลมในท้อง ลมหายใจ เป็นต้น และ 4) ธาตุ
ส�าคัญไปที่ทฤษฎีและกลวิธีที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ผู้ ไฟ (เตโชธาตุ) เป็นพลังงานความร้อนของชีวิต ท�าให้
อ่านเกิดความเข้าใจในเชิงวิชาการ และสามารถน�า ร่างกายอบอุ่น เช่น ไฟอุ่นร่างกาย ไฟย่อยอาหาร ไฟที่
ไปประยุกต์ใช้ในงานตามความเหมาะสมได้อย่างมี ท�าให้แก่ เป็นต้น โดยปกติทั่วไปร่างกายสามารถปรับ
ประสิทธิผล ตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้ แต่หากปรับตัวไม่ได้
ธาตุต่าง ๆ ย่อมเสียสมดุล (ธาตุหย่อน ก�าเริบ หรือ
วิธีกำรสืบค้นข้อมูล พิการ) เกิดการเจ็บป่วยในที่สุด ซึ่งสัมพันธ์กับปัจจัย
การศึกษานี้ได้สืบค้นและทบทวนวรรณกรรม ทั้งภายในและภายนอกร่างกาย ได้แก่ ธาตุเจ้าเรือน
[7-8]
(literature review) จากคัมภีร์ ต�ารา เอกสาร และ การเปลี่ยนแปลงของช่วงวัย พฤติกรรมและสภาวะ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพในงาน อารมณ์ การเปลี่ยนแปลงของช่วงเวลา ฤดูกาล ถิ่นที่
แพทย์แผนไทยทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ โดย อยู่และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น การรักษาความเจ็บป่วยจึง
เฉพาะจากฐานข้อมูล PubMed และ TCI-thaijo.org เน้นการปรับสมดุล เช่น การเพิ่มหรือลดอิทธิพลของ
โดยใช้ค�าส�าคัญ ได้แก่ health promotion, health ธาตุต่าง ๆ ด้วยวิธีการใช้ยาสมุนไพร การท�าหัตถการ
education, Thai traditional medicine และ หรือการให้ค�าแนะน�าเพื่อปรับพฤติกรรม เป็นต้น
quasi-experimental research โดยได้ยกตัวอย่าง อย่างไรก็ตามการไม่เจ็บป่วยเป็นความปรารถนาของ
หลักฐานวิชาการตามความจ�าเป็น มนุษย์ทุกคน ดังนั้นการสร้างสุขภาวะในทางการแพทย์
แผนไทยจึงมุ่งเน้นการปรับตัวให้เข้ากับปัจจัยที่ส่งผล