Page 199 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 199
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 3 Sep-Dec 2022 613
สถานการณ์ที่ใกล้ตัว ให้กลุ่มเป้าหมายท�ากิจกรรม หากต้องการให้กลุ่มเป้าหมายมีพฤติกรรมสุขภาพที่
กลุ่ม อภิปราย และวิเคราะห์ความเหมาะสมของ ดี ควรด�าเนินการไปพร้อมกันทั้งสามส่วน ส่วนใหญ่
พฤติกรรมตัวอย่าง หาวิธีการแก้ไขปัญหาที่เหมาะสม มักเป็นการส่งเสริมสุขภาพระยะยาว ท�าอย่างเป็น
จากนั้นจึงสรุป เป็นต้น ระบบ เน้นความร่วมมือจากหลายฝ่าย ใช้วิธีการสร้าง
3) ปัญญาสังคม (social cognition) ทฤษฎี ประสบการณ์และการเรียนรู้อย่างอิสระ ตัวอย่างการ
นี้เชื่อว่าตัวก�าหนดพฤติกรรมสุขภาพประกอบด้วย ประยุกต์ใช้ (ตารางที่ 3)
[27]
ผู้สอน กลุ่มเป้าหมาย และสิ่งแวดล้อม ดังนั้น
ตารางที่ 3 ตัวอย่างกลวิธีสุขศึกษาการดูแลสุขภาวะด้วยธรรมานามัยบนฐานทฤษฎีปัญญาสังคม
ตัวกำาหนด กลวิธีทางสุขศึกษา แนวทางดำาเนินงาน
ด้านปัจจัยภายใน การสร้างความรู้ที่จำาเป็นต่อการปฏิบัติ 1. อบรม บรรยาย หรือจัดกิจกรรมกลุ่ม ให้ความรู้เกี่ยวกับ
ตนตามหลักธรรมานามัย พัฒนา การปฏิบัติตนตามหลักธรรมานามัย
ทัศนคติและค่านิยมต่อหลักธรรมานามัย 2. แสดงให้เห็นผลลัพธ์ที่ดีหลังจากปฏิบัติตนตาม
และการเสริมสร้างการรับรู้ผลของ หลักธรรมานามัย
ปฏิบัติตนตามหลักธรรมานามัย 3. ให้โอกาสกลุ่มเป้าหมายได้กำากับ ตั้งเป้าหมาย แก้ปัญหา
ด้วยตนเอง
4. ค้นหาแรงเสริมและสิ่งล่อใจ เพื่อให้รางวัล
5. ฝึกทักษะการจัดการปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
ด้านพฤติกรรม การจัดการเรียนรู้ให้ได้ลงมือปฏิบัติ 1. ฝึกทักษะธรรมานามัย โดยค่อย ๆ เพิ่มความยากของ
เพื่อให้เกิดทักษะและประสบการณ์ การกระทำาเพื่อให้ทำาแล้วได้รับความสำาเร็จ เช่น ฝึกกายา-
ด้วยตนเอง ทั้งด้านกายานามัย นามัยด้วยท่าที่ง่าย ไม่ใช้อุปกรณ์ แล้วจึงฝึกท่ายาก ๆ ที่
จิตตานามัย และชีวิตานามัย ต้องใช้ความยืดหยุ่นของร่างกายสูง และมีอุปกรณ์
2. ใช้ตัวแบบที่ได้รับผลทางบวกหลังจากปฏิบัติตนตามหลัก
ธรรมานามัยที่มีลักษณะใกล้เคียงกลุ่มเป้าหมาย มีความ
หมายต่อกลุ่ม เป็นมิตร เล่าประสบการณ์ และเป็นต้น
แบบให้กลุ่มกระทำาตาม
ด้านสิ่งแวดล้อม การพัฒนาศักยภาพของเครือข่ายการ 1. สร้างเครือข่าย เช่น ชมรม กลุ่มออนไลน์ เพื่อกระตุ้น กำากับ
เสริมแรงในการปฏิบัติตนตามหลัก และส่งเสริมการปฏิบัติตนตามหลักธรรมานามัย
ธรรมานามัย จัดให้มีทรัพยากรและ 2. จัดเตรียมคู่มือ อุปกรณ์ และสถานที่จำาเป็นต่อการปฏิบัติ
อำานวยการเข้าถึงทรัพยากรที่เหมาะ ตนตามหลักธรรมานามัย
สำาหรับการปฏิบัติตนตามหลัก 3. เปิดโอกาสให้เข้าถึงคู่มือ อุปกรณ์ และสถานที่จำาเป็นต่อการ
ธรรมานามัย ปฏิบัติตนตามหลักธรรมานามัย
4. สร้างการรับรู้ และส่งเสริมบรรทัดฐานทางสุขภาพตามหลัก
ธรรมานามัยให้แก่ผู้ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มเป้าหมายทุกภาคส่วน
เช่น ครอบครัว ญาติ เจ้านาย บุคลากรทางการแพทย์ เป็นต้น
การกำาหนดซึ่งกัน สร้างปฏิสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ระหว่าง บูรณาการวิธีการที่หลากหลายที่เอื้อต่อการปฏิบัติตนตามหลัก
และกัน บุคคล พฤติกรรมและสภาพแวดล้อม ธรรมานามัย