Page 196 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 196

610 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




                1) การประสบความส�าเร็จจากการกระท�าด้วย  ท�าได้ ชักจูงให้เห็นประโยชน์ของการกระท�าพฤติกรรม
           ตนเอง (mastery experience) หากบุคคลได้กระท�า  เป็นต้น
           พฤติกรรมใดแล้วส�าเร็จย่อมช่วยเสริมการรับรู้ความ     4) การกระตุ้นทางอารมณ์ (emotional arousal)

           สามารถของตนเอง ซึ่งเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงสุด   การกระตุ้นทางอารมณ์มีผลต่อการรับรู้ความสามารถ
           ดังนั้นควรฝึกฝนบุคคลให้กระท�าพฤติกรรมจนเกิด  ของตนเอง เช่น หากกระตุ้นอารมณ์เชิงลบอาจท�าให้
           ทักษะ พร้อมสร้างการรับรู้ต่อบุคคลว่ามีความสามารถ  บุคคลเกิดประสบการณ์ล้มเหลว รับรู้ถึงความสามารถ

           ในการกระท�าพฤติกรรมเป้าหมายได้อย่างแน่นอน   ของตนเองระดับต�่า หากกระตุ้นอารมณ์เชิงบวกอาจ
                2) การได้รับประสบการณ์จากตัวแบบ (vica-  ท�าให้เกิดความรู้สึกเชื่อมั่นในตนเองได้ดีขึ้น
           rious experience) การที่บุคคลได้สังเกตเรียนรู้     การประยุกต์ใช้ทฤษฎีนี้พบอยู่ในรูปแบบ

           ประสบการณ์ของผู้อื่นที่ส�าเร็จและเห็นผลกรรมที่พึง  โปรแกรมพัฒนาสุขภาพ เช่น การประยุกต์ทฤษฎีการ
           พอใจ มักท�าให้เกิดความมั่นใจว่าตนสามารถกระท�า  รับรู้ความสามารถของตนเองในการออกก�าลังกาย
           พฤติกรรมนั้นได้ และย่อมได้รับผลกรรมนั้นเช่นกัน   ด้วยโยคะ  หรือการออกก�าลังกายแบบฤๅษีดัดตน [18]
                                                              [17]
                3) การใช้ค�าพูดชักจูง (verbal persuasion)   พบว่า กลุ่มเป้าหมายมีการรับรู้ความสามารถตนเอง

           ความเชื่อมั่นของบุคคลสามารถกระตุ้นจากการใช้ค�า  เพิ่มมากขึ้นและมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีขึ้น
           พูดชักจูงได้ เช่น การกล่าวชื่นชม การเน้นย�้าว่าคุณ  เป็นต้น ทฤษฎีนี้สามารถประยุกต์ใช้ได้ (ตารางที่ 2)



           ตารางที่ 2  ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองในการออกกำาลังกายแบบฤๅษีดัดตน
            การพัฒนาการรับรู้ความสามารถ   แนวทางดำาเนินงาน
            ของตนเอง
           การประสบความสำาเร็จจากการกระทำา   1. ประเมิน พิจารณาข้อจำากัด อุปสรรค และร่วมกันกำาหนดเป้าหมายที่เหมาะสม
           ด้วยตนเอง (mastery experience)     ในการออกกำาลังกายแบบฤๅษีดัดตนระหว่างแพทย์แผนไทยและกลุ่มเป้าหมาย
                                         2. การสาธิตการออกกำาลังกายแบบฤๅษีดัดตนที่สอดคล้องกับเป้าหมาย
                                         3. การให้ความรู้ แจกเอกสารประกอบการบรรยาย และฉายวีดิทัศน์เกี่ยวกับการ
                                           ออกกำาลังกายแบบฤๅษีดัดตนที่กลุ่มเป้าหมายสามารถปฏิบัติตามได้
                                         4. ให้กลุ่มเป้าหมายฝึกปฏิบัติด้วยตนเองตามจำานวนท่าและความถี่ตามเป้าหมาย
                                         5. แพทย์แผนไทยประเมินผลร่วมกับกลุ่มเป้าหมาย เพื่อปรับความถี่และระยะเวลา
                                         6. ค้นหาปัญหา อุปสรรค และกำาหนดเป้าหมายใหม่

           การได้รับประสบการณ์จากตัวแบบ   1. การเสนอตัวแบบที่มีคุณลักษณะคล้ายกลุ่มเป้าหมายที่ปฏิบัติจริงและประสบ
            (vicarious experience)         ความสำาเร็จมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์
                                         2. การอภิปรายกลุ่มเพื่อค้นหาปัจจัยแห่งความสำาเร็จ
           การใช้คำาพูดชักจูง และ        1. การพูดชักจูงให้ความรู้เป็นรายบุคคลบอกประโยชน์ของการออกกำาลังกายแบบ
           การกระตุ้นอารมณ์ (verbal persuasion     ฤๅษีดัดตน
           and emotional arousal)        2. การอภิปรายกลุ่มเพื่อให้กำาลังใจ กล่าวคำาชื่นชม ปรบมือ ภายใต้บรรยากาศ
                                           ผ่อนคลายและเป็นกันเอง
                                         3. การส่งเสริมให้รู้วิธีจัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัยและเหมาะสมกับการออกกำาลัง
                                           กายแบบฤๅษีดัดตนด้วยตนเอง
   191   192   193   194   195   196   197   198   199   200   201