Page 113 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 113
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 3 Sep-Dec 2022 527
2.6 กำรทดสอบควำมสำมำรถในกำรก�ำจัด ความเข้มข้น 0.3125, 0.625, 1.25, 2.5 และ 5% w/w
อนุมูลอิสระ ABTS assay [2,2’-azino-bis-(3- ปริมาตร 50 µL กับสารละลาย ABTS ปริมาตร 100
ethyl-benzothiazoline-6-sulfonic acid)] เตรียม µL ใน 96 well Plate ตั้งทิ้งไว้เป็นเวลา 15 นาที เพื่อ
สารละลาย ABTS ผสมกับสารละลายโพแทสเซียม ให้เกิดปฏิกิริยา วัดค่าการดูดกลืนแสงที่ 734 nm ด้วย
เปอร์ซัลเฟต (K 2SO 4) ละลายในน�้ากลั่น แล้วตั้งทิ้งไว้ เครื่อง Microplate reader โดยใช้โทรลอกซ์ (Trolox)
ที่อุณหภูมิห้องในที่มืดเป็นเวลา 12-16 ชั่วโมง ท�าการ เป็นสารมาตรฐาน จากนั้นน�าค่าการดูดกลืนแสงที่
ทดสอบสารตัวอย่าง โดยผสมยาต้มแก้ไข้ตัวร้อน ได้มาค�านวนหาเปอร์เซ็นต์การยับยั้งอนุมูลอิสระ (%
[15]
ต�ารับหมอเมืองล้านนา น�ามาเจือจางด้วยน�้ากลั่นให้ได้ Radical Scavenging) จากสมการ
(Abscontrol – Abssample)
% inhibition ABTH = 5 100
*+
(Abscontrol)
โดย Abscontrol คือค่าดูดกลืนแสงของ ABTH ที่ไม่ได้ใส่ยาต้มแก้ไข้ตัวร้อนต�ารับหมอเมืองล้านนา
*+
Abssample คือค่าดูดกลืนแสงของ ABTH ที่ใส่ยาต้มแก้ไข้ตัวร้อนต�ารับหมอเมืองล้านนา
*+
2.7 กำรวิเครำะห์ข้อมูลทำงสถิติ ก�าหนดความเชื่อมั่น 95% ระดับนัยส�าคัญที่ p < 0.05
ในการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและหา
ปริมาณสารประกอบฟีนอลรวม ปริมาณฟลาโวนอยด์ ผลก�รศึกษ�
รวม และความคงตัวทางกายภาพของยาต้มแก้ไข้
ต�ารับหมอเมืองล้านนาจะท�าการทดสอบ 3 ซ�้า น�าผลที่ 1. ผลก�รทดสอบคว�มคงตัวของย�ต้มแก้ไข้
ได้คิดค่าเฉลี่ยและหาค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐาน ตำ�รับหมอเมืองล้�นน�
ของการวัด (Standard Deviation: S.D.) โดยจะ ผลการทดสอบความคงตัวของยาต้มแก้ไข้ต�ารับ
แสดงผลเป็นค่าเฉลี่ยความเข้มข้นที่ให้ฤทธิ์ต้านอนุมูล หมอเมืองล้านนาที่สภาวะอุณหภูมิ 4, 25 และ 40˚ซ.
อิสระร้อยละ 50 (inhibition concentration; IC50) ความชื้นสัมพัทธ์ร้อยละ 75%RH เป็นระยะเวลา 0-7
และค่าเฉลี่ยของปริมาณสารประกอบฟีนอลิกรวม วัน ดังนี้
(mg GAE/g extract) และปริมาณฟลาโวนอยด์รวม 1) ค่าความเป็นกรด-ด่าง (pH) พบว่าที่อุณหภูมิ
(mg QE/g extract) ตามล�าดับส่วน ศึกษาความแตก 4˚ซ. ค่า pH มีค่า 6.77-6.90 ที่อุณหภูมิ 25˚ซ. ค่า pH
ต่างของฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ปริมาณสารประกอบ มีค่า 6.20-6.87 ในขณะที่อุณหภูมิ 40˚ซ. ค่า pH มีค่า
ฟีนอลิกรวมและปริมาณฟลาโวนอยด์รวมและ 5.37-6.88 โดยพบว่าที่อุณหภูมิ 4˚ซ. ค่า pH คงที่มาก
ลักษณะทางกายภาพ ในวันที่ 0-7 วิเคราะห์สถิติโดย ที่สุด และที่อุณหภูมิ 40˚ซ. ค่า pH เปลี่ยนแปลงเป็น
ใช้ one-way ANOVA และความคงตัวทางกายภาพ กรดอ่อน ๆ มากที่สุด (ตารางที่ 1)
ก่อนและหลังวิเคราะห์สถิติโดยใช้ paired t-test โดย