Page 110 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 110

524 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           นาหรือเรียกว่า “หมอเมือง’’ มาเป็นผู้มีบทบาทส�าคัญ  ซึ่งความรุนแรงของอาการจะขึ้นอยู่กับสาเหตุของโรค
           ในการท�าหน้าที่สืบต่อและถ่ายทอดภูมิปัญญาในการ  ไข้เป็นสัญญาณเตือนความผิดปกติในร่างกายที่บ่ง

           ป้องกันและดูแลรักษาสุขภาพของคนในชุมชน [1]   บอกถึงความเจ็บป่วยว่าระบบภูมิคุ้มกันในร่างกาย
                จากสถานการณ์ปัจจุบันที่มีการระบาดของโรค  ก�าลังท�างานตามหน้าที่เพื่อต่อสู้กับเชื้อโรคบางอย่าง
                                                                      [4]
           ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ท�าให้ต�ารับยาแก้ไข้และ  ที่บุกรุกเข้าสู่ร่างกาย  ความสัมพันธ์ของอนุมูลอิสระ
           สมุนไพรที่มีฤทธิ์ลดไข้ ถูกน�ามาศึกษามากมาย ซึ่ง  และความเครียดออกซิเดชันกับการเกิดไข้ กรณีที่
           ไข้ในทางการแพทย์แผนไทยปรากฏในคัมภีร์ตักศิลา   เกิดจากจุลชีพ lipopolysaccharide กระตุ้น cyto-

           หมายถึง อาการสะบัดร้อนสะบัดหนาว ปวดศีรษะ    kines ก่อให้เกิดการอักเสบ และกระตุ้นเม็ดเลือดขาว
           มาก ระวิงระไว ไอ จาม น�้ามูกตก กระหายน�้าเล็ก  เพื่อจับกินเชื้อโรค จากนั้นให้หลั่งอนุมูลอิสระ เช่น

           น้อย ปัสสาวะเหลือง ร่างกายรู้สึกอ่อนเพลีย ในหลัก  ไฮดรอกซิลเรดิคัล ไนตริกออกไซด์ และอนุมูลอิสระ
           ทฤษฎีปรัชญาการแพทย์แผนไทย เกิดจากศอเสมหะ    อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการตอบสนองต่อการอักเสบ

           อุระเสมหะ ในกองมหาภูตรูป อาโปธาตุพิการ ธาตุรูป  ในทางกลับกันอนุมูลอิสระที่หลั่งออกมาจ�านวน
           ของวาโยธาตุ กองโกฏฐาสยาวาตาพิการร่วมเรียกว่า   มาก ท�าให้เกิดการบาดเจ็บต่อเซลล์จากปฏิกิริยา
           ทุวันโทษ กองวาโย เสมหะพิการ   ในทางหมอเมือง   ออกซิเดชัน และสารต้านอนุมูลอิสระจึงสามารถ
                                    [2]
           สาเหตุของไข้เกิดจากการท�างานหนัก สภาพอากาศ   ลดสารก่อไข้ที่เกิดจาก cytokines อื่น ๆ เช่น NO

           ความอ่อนแอทางร่างกาย สิ่งเหนือธรรมชาติ การกิน  และ OH /prostaglandin E2 ที่สร้างขึ้นระหว่าง
           อาหารแสลง ซึ่งจ�าแนกออกเป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ ไข้วัน  กระบวนการเกิดไข้ได้ [5]
           เว้นวัน ไข้หวัด/ไข้ตัวร้อน ไข้ขึ้น/ไข้ดิ้น ไข้ฮูด (ด�า แดง      ในอดีตมีการใช้ยาสมุนไพรรักษาโรคต่าง ๆ กัน

           เหลือง ขาว) และไข้ตุ่มลี้ โดยต�ารับยาแก้ไข้หมอเมือง  อย่างกว้างขวางมาเป็นเวลานาน ต่อมาสมุนไพรได้รับ
           ล้านนาที่ปรากฏในหนังสือต�าราหมอยา ได้ข้อมูลต�ารับ  ความนิยมลดลง สมุนไพรที่เข้ายาแก้ไข้ เถาบอระเพ็ด

           ยาจากหมอสม จันทฤทธิ์ จังหวัดเชียงราย และหมอ   ใบทองพันชั่ง เปลือกต้นตีนเป็ด และรากผักหวานบ้าน
           อินถา โปธิมา จังหวัดเชียงใหม่ เป็นต�ารับยาแก้ไข้   มีรายงานผลข้างเคียงของบอระเพ็ดต่อตับเล็กน้อย

           ต�ารับที่ 3 เป็นยาต้มที่ประกอบไปด้วย รากผักหวาน  หากใช้นานกว่า 4 สัปดาห์  มีรายงานการบริโภคน�้า
                                                                           [6]
           บ้าน ทองพันชั่ง บอระเพ็ด เปลือกไม้ตีนเป็ด [3]  ผักหวานที่ผสมกับฝรั่งหรือสับปะรดที่ไม่ผ่านการ

                ในทางการแพทย์แผนปัจจุบันไข้มักจะมีสาเหตุ  ปรุงสุกนาน 10 สัปดาห์ พบว่าท�าให้เกิดอาการไอ
           มาจากความเจ็บป่วยหรือโรคภัยต่าง ๆ ที่พบบ่อย  หรือหายใจล�าบากได้  และเปลือกต้นตีนเป็ด นาน
                                                                       [7]
           จะเป็นโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย ภาวะ  13 สัปดาห์ ท�าให้เกิดอาการคลื่นไส้อาเจียนในสัตว์

                                                               [8]
           ร่างกายขาดน�้า การตากแดดเป็นเวลานาน อาการที่  ทดลองได้  จากปัญหาดังกล่าวและจากนโยบายส่ง
           พบได้ทั่วไปเมื่อเป็นไข้ ได้แก่ ปวดหัว หนาวสั่น ครั่น  เสริมการใช้ยาสมุนไพรของภาครัฐ ท�าให้ประชาชน

           เนื้อครั่นตัว ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว อ่อนเพลีย ตัวร้อน   เริ่มหันกลับมาใช้ยาแผนโบราณ ยาสมุนไพร หรือยา
   105   106   107   108   109   110   111   112   113   114   115