Page 112 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 112

526 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก       ปีที่ 20  ฉบับที่ 3  กันยายน-ธันวาคม 2565




           ทดลอง ปริมาตร 10 มิลลิลิตร น�าเก็บที่ตู้บ่มควบคุม  หมอเมืองล้านนา หยดลง 96-well plate ปริมาตร 50
           อุณหภูมิ โดยควบคุมสภาวะเร่งที่อุณหภูมิสภาวะ  µL และเติม 2% อะลูมิเนียมไตรคลอไรด์ ปริมาตร

           อุณหภูมิ 4, 25 และ 40˚ซ. โดยเก็บในโถควบคุม  50 µL ผสมให้เข้ากันแล้วตั้งทิ้งไว้ที่อุณหภูมิห้อง
           ความชื้น (desiccators) ที่บรรจุสารละลายอิ่ม  เป็นเวลา 15 นาที น�าไปวัดค่าการดูดกลืนแสง (OD)
           ตัวยิ่งยวดของ sodium chloride ซึ่งท�าให้เกิด  ที่ความยาวคลื่น 435 nm ด้วยเครื่อง Microplate

                               [10]
           ความชื้นสัมพัทธ์ 75% ± 5  เป็นระยะเวลา 0, 1, 2,   reader ใช้สารเควอซิติน (quercetin) เป็นสาร
           3, 4, 5, 6 และ 7 วัน [11-12]  จากนั้นมาบันทึกลักษณะสี   มาตรฐาน (ความเข้มข้น 0.8125, 1.625, 3.125, 6.25,

           การเกิดตะกอน และความเป็นกรดด่าง             12.5, 25, และ 50 µg/mL) ปริมาณฟลาโวนอยด์รวม
                2.3 กำรหำปริมำณสำรประกอบฟีนอลิกรวม     หาได้จากการน�าค่าการดูดกลืนแสงของสารตัวอย่าง

           (Total phenolic content) น�ายาต้มแก้ไข้ตัว  เทียบกับกราฟมาตรฐานของสารเควอซิติน ปริมาณที่
           ร้อนต�ารับหมอเมืองล้านนา หยดลง 96-well plate   ได้แสดงในหน่วย mg QE/g extract ดัดแปลงจาก

           ปริมาตร 20 µL เติมสารละลาย Folin-Ciocalteau’s   การศึกษาของ Mohamed El-Sayed M [13]
           phenol reagent 20 µL ตั้งไว้ในที่มืดเป็นเวลา 5 นาที      2.5 กำรทดสอบฤทธิ์ต้ำนอนุมูลอิสระ (free
           จากนั้นเติมสารละลายโซเดียมคาร์บอเนตความเข้ม  radical scavenging activity) ด้วยวิธี DPPH

           ข้น 7.5% ปริมาตร 100 µL แล้วปรับปริมาตรด้วย  assay (2,2-diphenyl-1-picrylhydrazyl) โดยเตรียม

           น�้ากลั่นจนครบ 300 µL ตั้งไว้ที่อุณหภูมิห้องในที่มืด  สารละลาย DPPH 0.4 mM ละลายในเอทานอล
           เป็นเวลา 30 นาที น�าไปวัดค่าการดูดกลืนแสง (OD)   จากนั้นท�าการทดสอบสารตัวอย่าง โดยผสมยาต้ม
           ที่ความยาวคลื่น 765 nm ด้วยเครื่อง Microplate   แก้ไข้ตัวร้อนต�ารับหมอเมืองล้านนา น�ามาเจือจาง

           reader ค�านวณหาปริมาณฟีนอลิกรวม จากการน�า   ด้วยน�้ากลั่น ให้ได้ความเข้มข้น 0.3125, 0.625, 1.25,
           ค่าการดูดกลืนแสงของสารตัวอย่างเทียบกับกราฟ  2.5 และ 5% w/w ปริมาตร 100 µL กับสารละลาย

           มาตรฐานของสารละลายกรดแกลลิก (gallic acid)   DPPH 100 µL ใน 96 well plate ตั้งทิ้งไว้ที่มืดเป็น
           ความเข้มข้น 5, 10, 20, 40, 80, 160 และ 320 µg/  เวลา 30 นาที วัดค่าการดูดกลืนแสงที่ 517 nm ด้วย

           mL ปริมาณที่ได้แสดงในหน่วย mg GAE/g extract   เครื่อง Microplate reader โดยใช้โทรลอกซ์ (Tro-
           ดัดแปลงจากการศึกษาของ Mohamed El-Sayed M [13]  lox) เป็นสารมาตรฐาน จากนั้นน�าค่าการดูดกลืนแสง

                2.4 กำรหำปริมำณฟลำโวนอยด์รวม (total    ที่ได้มาค�านวณหาเปอร์เซ็นต์การยับยั้งอนุมูลอิสระ
                                                                            [14]
           flavonoid content) น�ายาต้มแก้ไข้ตัวร้อนต�ารับ  (% Radical Scavenging)  จากสมการ

                                      (Abscontrol – Abssample)
                % inhibition DPPH    =                   5 100
                                *
                                         (Abscontrol)
                โดย  Abscontrol คือค่าดูดกลืนแสงของ DPPH  ที่ไม่ได้ใส่ยาต้มแก้ไข้ตัวร้อนต�ารับหมอเมืองล้านนา
                                                   *
                    Abssample คือค่าดูดกลืนแสงของ DPPH  ที่ใส่ยาต้มแก้ไข้ตัวร้อนต�ารับหมอเมืองล้านนา
                                                    *
   107   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117