Page 111 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 3 กันยายน-ธันวาคม 2565
P. 111
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 3 Sep-Dec 2022 525
พัฒนาจากสมุนไพรมากขึ้น โดยยังคงค�านึงถึงหลัก จังหวัดเชียงราย และหมออินถา โปธิมา จังหวัด
การประเมินด้านคุณภาพ ด้านความปลอดภัย และ เชียงใหม่ ประกอบด้วยสมุนไพร 4 ชนิด ได้แก่ เถา
ด้านประสิทธิผล “ไข้’’ เป็นอาการส�าคัญทางการ บอระเพ็ด ใบทองพันชั่ง เปลือกต้นตีนเป็ด และราก
แพทย์แผนไทย โดยการรักษามักใช้ยาต�ารับมากกว่า ผักหวานบ้าน จากสวนสมุนไพรในพื้นที่อ�าเภอเมือง
[3]
สมุนไพรเดี่ยว ซึ่งยาต้มเป็นรูปแบบการปรุงยา จังหวัดตาก พิสูจน์เอกลักษณ์โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์
สมุนไพรที่ใช้มานาน เป็นการใช้น�้าเป็นตัวท�าละลาย พิเชษฐ เวชวิฐาน ผู้เชี่ยวชาญด้านสมุนไพรพื้นบ้าน
สมุนไพร ข้อดีของยาต้ม คือ ดูดซึมง่าย ออกฤทธิ์เร็ว เทียบลักษณะสมุนไพรกับหนังสือ Thai Herbal
[9]
วิธีการเตรียมง่ายและสะดวก ซึ่งยาต้มแก้ไข้ตัวร้อน Pharmacopoeia และฐานข้อมูลสมุนไพร
ต�ารับหมอเมืองล้านนา ประกอบด้วย เถาบอระเพ็ด คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี โดย
ใบทองพันชั่ง รากผักหวานบ้าน และเปลือกต้นตีนเป็ด กระบวนการเก็บและช่วงเวลาที่เก็บสมุนไพรอ้างอิง
เป็นต�ารับยาพื้นบ้านล้านนาของทางภาคเหนือ วิธีการ ตามหลักเภสัชกรรมไทย คือ เถาบอระเพ็ด เก็บเวลา
ต้มยาโดยน�าสมุนไพรที่เตรียมไว้มาต้มในน�้า 3 ส่วนให้ 12.00 น. ใบทองพันชั่ง เก็บเวลา 08.30 น. เปลือกต้น
เหลือ 1 ส่วนหรือต้มรับประทานจนยาจืดไม่เกิน 7-10 ตีนเป็ด เก็บเวลา 13.00 น. รากผักหวานบ้าน เก็บเวลา
วัน ดื่มครั้งละ 1 แก้ว 3 เวลาหลังอาหาร 15.30 น. และท�าการเก็บตัวอย่างสมุนไพรที่ห้องปฏิบัติ
[3,10]
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบความ การวิจัยวิทยาศาสตร์สุขภาพ ชั้น 4 ห้อง 403 ระบุรหัส
คงตัวทางกายภาพ ศึกษาปริมาณสารฟลาโวนอยด์ สมุนไพร ดังนี้ เถาบอระเพ็ด (TC64001) ใบทองพันชั่ง
รวมและฟีนอลิกรวม ศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ ที่ (RN64002) เปลือกต้นตีนเป็ด (AS64003) และ
ระยะเวลาและอุณหภูมิต่าง ๆ ของยาต้มแก้ไข้ตัวร้อน รากผักหวานบ้าน (SA64004)
ต�ารับหมอเมืองล้านนา เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยว
กับการเก็บรักษายาต้มให้คงสภาพ เพื่อน�าไปสู่การ 2. วิธีก�รศึกษ�
ศึกษาถึงฤทธิ์ลดไข้ของยาต้มแก้ไข้ตัวร้อนต�ารับหมอ 2.1 กำรเตรียมยำ น�าสมุนไพรทั้ง 4 ชนิดล้าง
เมืองล้านนาต่อไป ท�าความสะอาดและสับเป็นชิ้นขนาดประมาณ 3
เซนติเมตร ชั่งสมุนไพร ชนิดละ 50 กรัม ปริมาณ
ระเบียบวิธีศึกษ� ทั้งหมดของต�ารับ 200 กรัม ต่อน�้า 600 กรัม (ใน
อัตราส่วน 1:3 w/w) ต้มให้เดือดจนเหลือ 1 ส่วน คือ
1. วัสดุ 200 กรัม แบ่งเก็บยาต้มในหลอดทดลองปลอดเชื้อ
1.1 สมุนไพรในต�ำรับยำ ขนาด 15 มิลลิลิตร หลังจากนั้นน�าไปกรองด้วยผ้าขาว
ต�ารับยาต้มแก้ไข้ต�ารับหมอเมืองล้านนา ได้ บาง กรองผ่านกระดาษกรองและน�าไปทดสอบต่อไป
ข้อมูลจากการรวบรวมในต�าราการแพทย์พื้นบ้าน 2.2 กำรทดสอบควำมคงตัวทำงกำยภำพ ยา
ล้านนา สาขาหมอยา ข้อมูลจากหมอสม จันทฤทธิ์ ต้มแก้ไข้ตัวร้อนต�ารับหมอเมืองล้านนาใส่หลอด