Page 92 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 92
290 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
4. ปริม�ณแทนนินของส�รสกัดเห็ดระโงก ไปครึ่งหนึ่ง (IC 50) เปรียบเทียบกับกราฟสารมาตรฐาน
ปริมาณแทนนินในเห็ดระโงกวิเคราะห์โดย กรดแอสคอร์บิก (IC 50 = 0.02 mg/mL) และกราฟ
เปรียบเทียบกับสารมาตรฐานกรดแทนนิกจากสมการ สารมาตรฐานโทรลอกซ์ (IC 50 = 0.02 mg/mL) (ภาพ
Y = 6.4667x + 0.0637 ค่า R = 0.9905 (ภาพที่ 1 F) ที่ 1A & 1B) พบว่าสารสกัดหยาบเห็ดระโงกขาวและ
2
การค�านวณหาปริมาณแทนนินในหน่วย mg Tannic เห็ดระโงกเหลืองที่สกัดด้วยน�้าร้อนมีฤทธิ์ต้านอนุมูล
acid/g extract ปริมาณแทนนินสูงพบในสารสกัด อิสระดีที่สุด มีค่าความเข้มข้นของสารที่สามารถยับยั้ง
ด้วยน�้าร้อนทั้งเห็ดระโงกขาวและเห็ดระโงกเหลือง ปฏิกิริยาไปครึ่งหนึ่ง (IC 50) เท่ากับ 1.01 ± 0.09 และ
เท่ากับ 13.53 ± 0.45 และ 9.27 ± 0.45 mg Tannic 0.75 ± 0.04 mg/mL ตามล�าดับ สารสกัดหยาบเห็ด
acid/g extract ตามล�าดับ (ตารางที่ 2) ระโงกขาวมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระน้อยกว่า 50 เท่า ส่วน
สารสกัดหยาบเห็ดระโงกเหลืองมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
5. ก�รทดสอบฤทธิ์ต้�นอนุมูลอิสระด้วยวิธี น้อยกว่า 37 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับสารมาตรฐานกรด
ABTS assay แอสคอร์บิกและโทรลอกซ์ (ตารางที่ 3)
ผลการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสาร
สกัดหยาบเห็ดระโงกขาวและเห็ดระโงกเหลือง เปรียบ 6. ก�รทดสอบฤทธิ์ต้�นอนุมูลอิสระด้วยวิธี
เทียบกับสารมาตรฐาน 2 ชนิด ได้แก่ กรดแอสคอร์บิก FRAP assay
และโทรลอกซ์ โดยน�าค่าการดูดกลืนแสงที่ 734 นาโน ผลการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี
เมตร แล้วน�ามาค�านวณร้อยละ radical scavenging นี้โดยเปรียบเทียบกับสารเฟอร์รัสซัลเฟต (Ferrous
และค่าความเข้มข้นของสารที่สามารถยับยั้งปฏิกิริยา sulfate) เป็นสารมาตรฐาน โดยการสร้างกราฟ
ภาพที่ 1 กราฟของสารมาตรฐานที่ใช้ในการเปรียบเทียบ A. กรดแอสคอร์บิก (ascorbic acid) B. โทรลอกซ์ (trolox) C.
เฟอรัสซัลเฟต (ferrous sulfate) D. กรดแกลลิก (gallic acid) E. เควอร์ซิติน (quercetin) และ F. กรดแทนนิก
(tannic acid)