Page 90 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 90

288 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           96 well plate ปริมาตร 20 ไมโครลิตร จากนั้นท�าตาม  ที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส การเตรียมไฮโดรคลอริก
           ขั้นตอนการทดสอบตามวิธีที่ใช้ทดสอบสารละลาย   ความเข้มข้น 4 มิลลิโมลาร์ปิเปตกรดไฮโดรคลอริก

           มาตรฐานโทรลอกซ์  และกรดแอสคอร์บิก น�าค่าการ  0.0033 มิลลิลิตร ปรับปริมาตรด้วยน�้ากลั่น 10
           ดูดกลืนแสงความยาวคลื่นที่วัดได้ที่ 734 นาโนเมตร   มิลลิลิตร เพื่อไปละลายทีพีทีซีความเข้มข้น 10 มิลลิ
           ท�าการค�านวณร้อยละ radical scavenging ค�านวณ  โมลาร์

           ค่าความเข้มข้นของสารที่สามารถยับยั้งปฏิกิริยาไป     การเตรียมสารมาตรฐานเฟอร์รัสซัลเฟต 2
           ครึ่งหนึ่ง (IC 50) เปรียบเทียบกับสารมาตรฐานกรด   มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร เตรียมโดยชั่งเฟอร์รัสซัลเฟต
           แอสคอร์บิก และโทรลอกซ์จากผลการทดลองที่ได้   0.02 กรัม ปรับปริมาตรด้วยน�้ากลั่น 10 มิลลิลิตร ใน

           โดยค�านวณหาร้อยละ radical scavenging จาก    ขวดปริมาตร การสร้างกราฟมาตรฐานเฟอร์รัสซัลเฟต
           สมการ                                       น�าสารละลายมาตรฐานเฟอร์รัสซัลเฟต 2 มิลลิกรัมต่อ
                % Radical scavenging activity = [A control-  มิลลิลิตร มาเจือจางด้วยน�้ากลั่นให้มีความเข้มข้นเป็น

           A sample/A control] 5 100                   0.4, 0.8, 1.2 และ 1.6 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ปิเปตใส่
                A control = ค่าการดูดกลืนแสงของ ABTS   ในหลอดทดลอง ปริมาตร 1 มิลลิลิตร น�าทุกหลอด

                A sample = ค่าการดูดกลืนแสงของตัวอย่าง  มาเติม FRAP reagent 1 มิลลิลิตร ลงในสารละลาย
                                                       มาตรฐานที่เตรียมไว้ ทิ้งไว้ 4 นาที น�าไปวัดค่าการดูด
           8. ก�รวิเคร�ะห์คว�มส�ม�รถในก�รเป็นส�ร       กลืนแสงที่ความยาวคลื่น 593 นาโนเมตร ด้วยเครื่อง
              ต้�นอนุมูลอิสระด้วยวิธี FRAP assay [19]  UV-Vis spectrophotometer โดยท�าการทดลอง

                วิธีการทดสอบดัดแปลงตามวิธีของ Satsea, et   ตัวอย่างละ 3 ครั้ง

             [19]
           al  การเตรียมสารละลาย FRAP reagent เตรียม       การวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี
           เฟอร์ริกคลอไรด์ความเข้มข้น 20 มิลลิโมลาร์ โดยชั่ง  FRAP ในสารสกัดเห็ดระโงก ชั่งสารสกัดตัวอย่าง
           เฟอร์ริกคลอไรด์มา 0.054 กรัม ละลายในน�้ากลั่น 10   มาตัวอย่างละ 0.01 กรัม มาละลายในตัวท�าละลายที่

           มิลลิลิตร และเตรียมทีพีทีซีความเข้มข้น 10 มิลลิโมลาร์    ใช้ในการสกัดปริมาตร 10 มิลลิลิตร เจือจางในตัวท�า
           โดยชั่งทีพีทีซีมา 0.031 กรัม ละลายในกรดไฮโดรคลอริก    ละลายที่ใช้ในการสกัดให้มีความเข้มข้นเป็น 0, 0.1,
           10 มิลลิลิตร (ที่อุณหภูมิ 50 องศาเซลเซียส) ผสม  0.2, 0.3, 0.4 และ 0.5 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ปิเปต

           เฟอร์ริกคลอไรด์ความเข้มข้น 20 มิลลิโมลาร์ และ   ปริมาตร 1 มิลลิลิตรใส่ในหลอดทดลองจากนั้นท�า
           ทีพีทีซีความเข้มข้น 10 มิลลิโมลาร์ ด้วยแอซิเตต   ตามขั้นตอนการเตรียมสารมาตรฐานเฟอร์รัสซัลเฟต
           บัพเฟอร์ 100 มิลลิลิตรจากนั้นเติมน�้ากลั่น 12 มิลลิลิตร

           (เก็บที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส) การเตรียม   9. สถิติสำ�หรับวิเคร�ะห์ข้อมูล
           แอซิเตต บัพเฟอร์ความเข้มข้น 300 มิลลิโมลาร์ pH      การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ การ

           3.6 ชั่งโซเดียมแอซิเตต จ�านวน 1.8 กรัม และเติม  หาร้อยละ (%) การหาค่าเฉลี่ย (Mean) การหาค่าส่วน
           กรดแกลเชียลแอซิติก 8 มิลลิลิตร ปรับปริมาตรด้วย  เบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ด้วยโปรแกรมไมโครซอฟต์
           น�้ากลั่นให้ครบ 500 มิลลิลิตร ปรับ pH ให้ได้ 3.6 เก็บ  เอ็กเซล (microsoft excel) และค�านวณค่าความ
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95