Page 93 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 93
J Thai Trad Alt Med Vol. 20 No. 2 May-Aug 2022 291
ตารางที่ 3 ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดหยาบเห็ดระโงกขาว (A. princeps) และเห็ดระโงกเหลือง (A. javanica)
ทดสอบด้วยวิธี ABTS assay และ FRAP assay
ABTS assay FRAP assay
ชนิดเห็ด ตัวทำาละลาย IC 50 (mg/mL) (mg FeSO 4/g extract)
เห็ดระโงกขาว เมทานอล 2.07 ± 0.03 2791.31 ± 30.69
เอทานอล 2.37 ± 0.06 3650.67 ± 35.77
น�้าร้อน 1.01 ± 0.09 418.86 ± 10.31
เห็ดระโงกเหลือง เมทานอล 1.88 ± 0.02 2672.25 ± 23.41
เอทานอล 1.55 ± 0.08 2169.78 ± 64.43
น�้าร้อน 0.75 ± 0.04 508.47 ± 20.62
สารมาตรฐานกรดแอสคอร์บิก 0.02 ± 0.0
สารมาตรฐานโทรลอกซ์ 0.02 ± 0.0
มาตรฐานเพื่อหาความสัมพันธ์ปริมาณเฟอร์รัสซัลเฟต แอสคอร์บิกและโทรลอกซ์ ส่วนสารสกัดเห็ดระโงก
ในการค�านวณหาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในหน่วย mg เหลืองมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระน้อยกว่า 37.5 เท่า จาก
FeSO 4/g extract จากผลการทดสอบพบว่าสารสกัด การทดสอบด้วยวิธี ABTS assay ส่วนสารสกัดจาก
หยาบเห็ดระโงกขาวด้วยตัวท�าละลายด้วยเอทานอล เอทานอลเห็ดระโงกเหลืองและเห็ดระโงกขาวมีค่า
ร้อยละ 95 มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระเท่ากับ 3650.67 ± ความเข้มข้นของสารที่สามารถยับยั้งปฏิกิริยาไปครึ่ง
35.77 mg FeSO 4/g extract ส่วนสารสกัดหยาบเห็ด หนึ่ง (IC 50) เท่ากับ 1.55 และ 2.37 mg/mL พบว่ามี
ระโงกเหลืองที่สกัดด้วยเมทานอลมีฤทธิ์ต้านอนุมูล ประสิทธิภาพใกล้เคียงกับรายงานของ Seekhaw, et
อิสระเท่ากับ 2672.25 ± 23.41 mg FeSO 4/g extract al. ที่ศึกษาในเห็ดผึ้ง 4 ชนิด ได้แก่ เห็ดผึ้งเหลือง
[18]
(ตารางที่ 3) เห็ดผึ้งน�้าคราม เห็ดผึ้งไข และเห็ดผึ้งแย้ โดยท�าการ
สกัดด้วยเอทานอลและใช้วิธีทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูล
อภิปร�ยผล อิสระด้วยวิธี ABTS เช่นกัน พบว่าเห็ดผึ้งป่าทั้ง 4 ชนิด
จากการวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของสาร มีค่าความเข้มข้นของสารที่สามารถยับยั้งปฏิกิริยาไป
สกัดหยาบเห็ดระโงกขาวและเห็ดระโงกเหลือง ฤทธิ์ ครึ่งหนึ่ง (IC 50) อยู่ในช่วง 1.33 ± 0.07-3.10 ± 0.07
ต้านอนุมูลที่ดีพบในสารสกัดด้วยน�้าร้อนของเห็ด mg/mL ส่วนในรายงานผลการวิจัยของ Taweepanit
ทั้ง 2 ชนิดเมื่อเปรียบเทียบค่าความเข้มข้นของสาร และ Tumkhom ทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วย
[20]
ที่สามารถยับยั้งปฏิกิริยาไปครึ่งหนึ่ง (IC 50) กับสาร วิธี ABTS ในสารสกัดเห็ดระโงกขาวและเห็ดระโงก
สกัดด้วยเมทานอลและเอทานอล โดยสารสกัดเห็ด แดงด้วยตัวท�าละลาย เฮกเซน เอทิลอะซิเตท และ
ระโงกขาวสกัดด้วยน�้าร้อนมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระน้อย เอทานอล แต่มีประสิทธิภาพในการต้านอนุมูลอิสระ
กว่า 50 เท่า เมื่อเปรียบเทียบกับสารมาตรฐานกรด น้อยกว่าในงานวิจัยครั้งนี้ เนื่องจากผลการวิจัยไม่