Page 91 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 91

J Thai Trad Alt Med                                   Vol. 20  No. 2  May-Aug  2022  289




            แตกต่างอย่างมีนัยส�าคัญทางสถิติโดยใช้ One-way   เปรียบเทียบกับสารมาตรฐานกรดแกลลิกจากสมการ
            ANOVA ในโปรแกรม SPSS ที่ระดับความเชื่อมั่น  y = 50.478x + 0.0082 ค่า R  = 0.9978 (ภาพที่ 1 D)
                                                                              2
            ร้อยละ 95 (p < 0.05)                        ค�านวณหาปริมาณฟินอลิกรวมในหน่วย mg GAE/g
                                                        extract  extract พบว่าเห็ดระโงกขาวที่สกัดด้วย
                          ผลก�รศึกษ�                    เอทานอลร้อยละ 95 มีปริมาณฟีนอลิกสูงที่สุดเท่ากับ

                                                        18.41 ± 0.13 mg GAE/g รองลงมาคือเห็ดระโงก
            1. ปริม�ณร้อยละของผลผลิต (% yield) ของ      เหลืองที่สกัดด้วยเมทานอลเท่ากับ 18.01 ± 0.07 mg
               ส�รสกัดหย�บเห็ดระโงก                     GAE/g extract (ตารางที่ 2)


                 จากขั้นตอนการสกัดสารจากเห็ดระโงกขาวและ
            เห็ดระโงกเหลืองด้วยวิธีการแช่สกัดและการต้มด้วย  3. ปริม�ณเฟลโวนอยด์ของส�รสกัดเห็ดระโงก
            น�้าร้อน พบว่าปริมาณร้อยละของผลผลิตมากที่สุด คือ      ผลการทดสอบปริมาณเฟลโวนอยด์ของสาร

            สารสกัดเห็ดระโงกเหลืองที่ได้จากการต้มด้วยน�้าร้อน  สกัดหยาบเห็ดระโงกทั้งสองชนิดโดยเปรียบเทียบ
            เป็นเวลา 1 ชั่วโมง เท่ากับ 28.97 ส่วนเห็ดระโงกขาวมี  กับสารมาตรฐานเคอร์ซิตินจากสมการ Y = 11.027x

            ปริมาณร้อยละ 26.52 (ตารางที่ 1) ร้อยละของผลผลิต  + 0.0144 ค่า R  = 0.9978 (ภาพที่ 1E) ค�านวณหา
                                                                    2
            ของเห็ดทั้งสองชนิดมีค่ามากที่สุดคือ สารสกัดที่มีตัว  ปริมาณเฟลโวนอยด์ในหน่วย mg QE/g extract
            ท�าละลายด้วยน�้าร้อน รองลงมาคือ เมทานอล และ   พบว่าปริมาณเฟลโวนอยด์สูงที่สุดพบในสารสกัด

            เอทานอลตามล�าดับ                            หยาบเห็ดระโงกขาวด้วยเอทานอลร้อยละ 95 เท่ากับ
                                                        1017.99 ± 8.18 mg QE/g extract และเห็ดระโงก
            2. ปริม�ณฟีนอลิกรวมของส�รสกัดเห็ดระโงก      เหลืองที่สกัดด้วยเอทานอลร้อยละ 95 พบว่ามีปริมาณ


                 ผลการวิเคราะห์ปริมาณฟินอลิกรวมของสาร   เฟลโวนอยด์สูงเช่นกันเมื่อเปรียบเทียบกับการสกัด
            สกัดหยาบเห็ดระโงกขาวและเห็ดระโงกเหลือง โดย  ด้วยตัวท�าละลายเมทานอลและน�้าร้อน (ตารางที่ 2)




            ตารางที่ 2  ปริมาณฟีนอลิกรวม เฟลโวนอยด์ และแทนนินของสารสกัดหยาบเห็ดระโงกขาว (A. princeps) และเห็ดระโงกเหลือง
                     (A. javanica) ในตัวท�าละลายที่แตกต่างกัน

                                                ฟีนอลิกรวม      เฟลโวนอยด์          แทนนิน

               ชนิดเห็ด           ตัวทำาละลาย  (mg GAE/g extract)  (mg QE/g extract)  (mg Tannin acid/g extract)
            เห็ดระโงกขาว          เมทานอล      14.29 ± 0.30    999.85 ± 5.83     6.05 ± 30.27
                                   เอทานอล     18.41 ± 0.13   1017.99 ± 8.18      7.38 ± 0.34
                                   น�้าร้อน    16.96 ± 0.20    160.74 ± 3.04     13.53 ± 0.45

            เห็ดระโงกเหลือง       เมทานอล      18.01 ± 0.07    517.81 ± 7.33      5.84 ± 0.13
                                   เอทานอล     16.52 ± 0.14    832.99 ± 9.13      5.92 ± 0.39
                                   น�้าร้อน    17.60 ± 0.27    146.23 ± 5.71      9.27 ± 0.45
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96