Page 94 - วารสารการแพทย์แผนไทย ปีที่ 20 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2565
P. 94

292 วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ ทางเลือก      ปีที่ 20  ฉบับที่ 2  พฤษภาคม-สิงหาคม 2565




           สามารถวัดค่าความเข้มข้นของสารที่สามารถยับยั้ง  มีขั้วมากกว่าเอทานอลและเมทานอล
           ปฏิกิริยาไปครึ่งหนึ่ง (IC 50) ได้               การวิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี

                                                                  [21]
                ส่วนการทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี   ABTS assay  เป็นการวัดความสามารถในการ
                                                                                   •+
           FRAP assay โดยใช้สารมาตรฐานเฟอร์รัสซัลเฟต   ฟอกสีอนุมูลอิสระเอบีทีเอส (ABTS ,2,2′-azino-
           (FeSO 4) ซึ่งค่า FRAP value ค�านวณเป็นหน่วย  bis (3-ethylbenzothiazoline-6- sulfonic acid)

           มิลลิกรัมสมมูลเฟอร์รัสซัลเฟต/กรัมของสารสกัด พบ  radical) ที่จางลงของการยับยั้งอนุมูลอิสระ ABTS
                                                                                             •+
           ว่าสารสกัดหยาบเห็ดระโงกขาวที่สกัดด้วยเอทานอลมี  และค�านวณเทียบกับสารมาตรฐานโทรลอกซ์ วิธีนี้
           ค่าการต้านอนุมูลอิสระเท่ากับ 3650.67 ± 35.77 mg   มีข้อดีคือ ABTS  สามารถละลายน�้าได้ดีและตัวท�า
                                                                    •+
           FeSO 4/g extract ซึ่งมีค่ามากกว่าสารสกัดด้วยน�้า  ละลายอินทรีย์จึงท�าปฏิกิริยาได้อย่างรวดเร็ว และ
           ร้อนถึง 8.7 เท่า (ตารางที่ 3) ส่วนเห็ดระโงกเหลืองที่  ท�าปฏิกิริยาได้ดีในช่วง pH กว้าง แต่ก็มีข้อเสียคือ
                                                            •+
           สกัดด้วยเอทานอลมีค่าการต้านอนุมูลอิสระเท่ากับ   ABTS  ไม่เป็นสารธรรมชาติที่พบในร่างกายหรือใน
           2169.78 ± 64.43 mg FeSO 4/g extract และมีค่า  เซลล์สิ่งมีชีวิต ส่วนการวิเคราะห์ปริมาณของอนุมูล
                                                                           [21]
           มากกว่าสารสกัดด้วยน�้าร้อน 4.2 เท่า (ตารางที่ 3) มี  อิสระด้วยวิธี FRAP assay  เป็นวิธีตรวจสอบความ
           ค่าการต้านอนุมูลอิสระมากกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับ  สามารถในการต้านออกซิเดชันโดยอาศัยปฏิกิริยา
           สารสกัดหยาบด้วยเอทานอลของเห็ดผึ้ง 4 ชนิด จาก  รีดอกซ์และติดตามการเปลี่ยนแปลงของสีสารประกอบ
                    [21]
           จังหวัดเลย โดยทดสอบด้วยวิธี FRAP เช่นกันใน  เชิงซ้อน ferric tripyridyltriazine (Fe -TPTZ) ได้
                                                                                    3+
           สารสกัดเห็ดผึ้งมีค่าเท่ากับ 8.71 ± 0.02-33.14 ± 0.29   รับอิเล็กตรอนจากสารต้านออกซิเดชันแล้วจะเปลี่ยน
           mg FeSO 4/g extract ส่วนการทดสอบด้วยวิธีนี้จาก  ไปอยู่ในรูปสารประกอบเชิงซ้อน ferrous tripyri-

           เห็ดป่าในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี พบว่าสารสกัดด้วย  dyltriazine (Fe -TPTZ) มีสีม่วงน�้าเงิน และวัด
                                                                    2+
           เอทิลอะซิเตท และเอทานอลของเห็ดห�าฟานเท่านั้นที่  ความสามารถในการเป็นสารต้านอนุมูลอิสระได้ใน
           แสดงค่าต้านอนุมูลอิสระได้ดี [20]            รูป FRAP value เทียบกับกราฟมาตรฐานของเฟอร์

                จากผลการวิจัยครั้งนี้พบว่าสารสกัดเห็ดระโงก  รัสซัลเฟต (FeSO 4) วิธีการตรวจสอบนี้เป็นวิธีที่ง่าย
           ขาวและเห็ดระโงกเหลืองที่สกัดด้วยน�้าร้อนแสดงค่า  ใช้เวลาน้อย มีค่าใช้จ่ายน้อย และท�าซ�้าหลายครั้งก็ให้
           ต้านอนุมูลอิสระได้ดีโดยการทดสอบด้วยวิธี ABTS as-  ผลเหมือนเดิม แต่มีข้อเสีย คือ ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นเป็น

           say อาจเนื่องมาจากมีคุณสมบัติในการต้านอนุมูลอิสระ  ปฏิกิริยาเคมีไม่เกี่ยวข้องกับสภาวะร่างกาย และต้อง
           ด้วยการให้อะตอมไฮโดรเจนได้ดีกว่าสารสกัดจาก   ใช้น�้าปราศจากไอออน  อย่างไรก็ตามวิธีวิเคราะห์
                                                                        [21]
           เอทานอล ส่วนค่าต้านอนุมูลอิสระจากค่า FRAP   ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระทั้ง 2 วิธี มีทั้งข้อดีและข้อเสีย

           value แสดงผลในทางที่ต่างกัน คือ สารสกัดด้วย   แต่เป็นวิธีที่นิยมใช้กันทั่วไปเนื่องจากท�าได้ง่าย ไม่
           เอทานอลมีค่าต้านอนุมูลอิสระได้ดีกว่าสารสกัดด้วย  ยุ่งยากซับซ้อน และมีค่าใช้จ่ายไม่แพง การวิจัยครั้ง

           น�้าร้อนของเห็ดระโงกขาวและเห็ดระโงกเหลือง อาจ  นี้ก็เช่นกันเลือกใช้การทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
           เนื่องมาจากสารสกัดด้วยเอทานอลมีความสามารถ   ด้วยวิธี ABTS assay และ FRAP assay เนื่องจาก
           ในการรีดิวซ์เหล็กได้ดีกว่า และน�้าเป็นตัวท�าละลายที่  เป็นสารสกัดหยาบของเห็ดระโงกที่สกัดด้วยน�้าร้อน
   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99